Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1890
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | วิไลวรรณ คมขำ | - |
dc.contributor.author | กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม | - |
dc.contributor.author | นพนัฐ จำปาเทศ | - |
dc.contributor.author | Wilaiwan Komkhum | - |
dc.contributor.author | Kamonthip Khungtumneum | - |
dc.contributor.author | Nopphanath Chumpathat | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing | th |
dc.date.accessioned | 2024-03-14T05:56:54Z | - |
dc.date.available | 2024-03-14T05:56:54Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.citation | วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี 5,2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2565) : 44-56 | th |
dc.identifier.issn | 2985-0150 (Online) | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1890 | - |
dc.description | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he01.tci-thaijo.org/index.php/pck/article/view/257031/174348 | th |
dc.description.abstract | การศึกษาเป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยโรคเบาหวานร่วมกับโรคความดันโลหิตสูงที่มีระดับความเสี่ยงสูง และ 2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยโรคเบาหวานร่วมกับโรคความดันโลหิตสูงที่มีระดับความเสี่ยงสูง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคเบาหวานร่วมกับโรคความดันโลหิตสูงที่มีระดับความเสี่ยงสูงที่มารับบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี จำนวน 130 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบสองขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลสุขภาพ แบบสอบถามพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยโรคเบาหวานร่วมกับโรคความดันโลหิตสูงที่มีระดับความเสี่ยงสูง และแบบสอบถามปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งมีค่าค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ .82 และ .76 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดโดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง (M = 2.75, SD = .35) ปัจจัยการรับรู้ประโยชน์ การรับรู้ความสามารถของตนเอง อิทธิพลระหว่างบุคคล และอิทธิพลด้านสถานการณ์มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (rs = .55, .50, .63, .43) ตามลำดับ ส่วนปัจจัยการรับรู้อุปสรรคมีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 (rs = -.53) ผลการวิจัยนี้ สามารถนำไปพัฒนาระบบการติดตามประเมินความเสี่ยง สำหรับการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดระดับความเสี่ยงในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานร่วมกับโรคความดันโลหิตสูง ที่มีระดับความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด | th |
dc.description.abstract | This cross-sectional descriptive research aims to study 1) health-promoting behaviors for cardiovascular disease prevention among high-risk diabetes patients with hypertension, and 2) factors relating to health-promoting behaviors for cardiovascular disease (CVD) prevention among high-risk diabetes patients with hypertension. The samples were selected by a two-stage random sampling technique of 130 high-risk diabetes patients with hypertension who were the clients of Tambon Health Promoting Hospital in Muang District, Phetchaburi Province. A set of questionnaires includes 1) Personal and health data, 2) a questionnaire with a reliability of .82 of health-promoting behaviors for CVD prevention among high-risk diabetes patients with hypertension, and 3) a questionnaire with a reliability of .76 of the factors related to health-promoting behaviors for CVD prevention among high-risk diabetes patients with hypertension. Data were analyzed by descriptive statistics and Spearman’s Rho correlation. The results reveal that the rate of health-promoting behaviors for CVD prevention among the sample is at a moderate level (M = 2.75, SD = .35). The factors of realization of benefits, self-care capacity, interpersonal influences, and situational necessity have positive statistical relations with CVD prevention behaviors at .05 (rs = .55, .50, .63, .43, respectively) whereas the realization of behavioral barriers has a negative statistical relation with CVD prevention behaviors at .05 (rs = -.53). Based on these results, it is necessary to provide systematic risk monitoring for high-risk diabetes patients with hypertension in order to reduce CVD risk among them. | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.subject | การส่งเสริมสุขภาพ | th |
dc.subject | Health promotion | th |
dc.subject | พฤติกรรมสุขภาพ | th |
dc.subject | Health behavior | th |
dc.subject | หัวใจ -- โรค | th |
dc.subject | Heart -- Diseases | th |
dc.subject | โรคหลอดเลือดโคโรนารีย์ | th |
dc.subject | Coronary heart disease | th |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยโรคเบาหวานร่วมกับโรคความดันโลหิตสูง ที่มีระดับความเสี่ยงสูง ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี | th |
dc.title.alternative | Factors Related to Health Promoting Behaviors for Cardiovascular Disease Prevention among Diabetes with Hypertensive Patients in a High-Risk Level, Muang District, Phetchaburi Province | th |
dc.type | Article | th |
Appears in Collections: | Nursing - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Health-behavior.pdf | 85.5 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.