Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1896
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | พระครูปลัดปรีชา รักบำรุงพงศ์ | - |
dc.contributor.author | ธีรโชติ เกิดแก้ว | - |
dc.contributor.author | Phrakhrupalad Phreecha Rakbumrungphong | - |
dc.contributor.author | Teerachoot Kerdkaew | - |
dc.contributor.other | Mahachulalonkornrajavidyalaya University. Faculty Buddhism | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts | th |
dc.date.accessioned | 2024-03-14T08:45:34Z | - |
dc.date.available | 2024-03-14T08:45:34Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.citation | วารสาร มจร พุทธศาสตร์ปริทรรศน์ 6,1 (มกราคม-เมษายน 2565) : 54-71 | th |
dc.identifier.issn | 3027-7442 (Print) | - |
dc.identifier.issn | 3027-7450 (Online) | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1896 | - |
dc.description | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jmb/article/view/255534/172650 | th |
dc.description.abstract | บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เปรียบเทียบการควบคุมการบริโภคอาหารในทัศนะของพระพุทธศาสนาเถรวาทและศาสนาอิสลาม ซึ่งงานวิจัยนี้ เป็นการศึกษาข้อมูลเชิงเอกสาร แล้วน ามาวิเคราะห์ถึงความเหมือนและต่างกัน โดยวิธีวิจัยเชิงเอกสาร ผลการวิจัยพบว่าอาหารและโภชนาการในทัศนะของพระพุทธศาสนาให้ทัศนะว่าอาหารมีลักษณะ 2 ประการคือคำข้าวที่ท าให้ร่างกายดำรงชีพขันธ์อยู่ และอาหารที่หล่อเลี้ยงจิตวิญญาณ ส่วนอาหารในทัศนะของศาสนาอิสลามเป็นสิ่งที่บำรุงร่างกายเช่นกันกับพระพุทธศาสนาต่างกันแต่วิธีในการเลือกอาหารที่พระเจ้ามอบให้เท่านั้นคืออาหารฮาลาล ส่วนในประเด็นการควบคุมการบริโภคอาหารในระพุทธศาสนากับศาสนาอิสลาม พบว่า พระพุทธศาสนาเถรวาทจะเน้นการแสวงหาสิ่งบริโภคโดยหลักของคุณค่าแท้คุณค่าเทียม และน ามาพิจารณาก่อนจะใช้สอย ขณะที่ใช้สอย และหลังจากใช้สอยโดยมุ่งถึงความจ าเป็นที่แท้จริง ส่วนศาสนาอิสลามจะเน้นไปที่สิ่งที่อัลลอฮฺห้ามและอนุญาต โดยเฉพาะอาหารที่เป็นฮาลาล เป็นอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ซึ่งเมื่อกล่าวโดยสรุปแล้ว ทั้งสองศาสนามีทัศนะในประเด็นการควบคุมการบริโภคคือการรู้จักถึงประโยชน์ที่แท้จริงของอาหารนั่นเอง | th |
dc.description.abstract | This research article entitled to compare dietary control in the view of Theravada Buddhism and Islam. This study is by using documentary researches. The results of the study were as follow: Food and nutrition, in the Buddhist viewpoint, food has two characteristics. and food that nourishes the soul as for food, in the view of Islam, it is nourishing as well as Buddhism differs, but the only way to choose the food that God offers is halal food. As for the issue of food consumption control in Buddhism and Islam, it was found that Theravada Buddhism focuses on the pursuit of consumer goods based on genuine values and artificial values. and taken into account before use, while using and after using with a view to the true need Islam focuses on what Allah has forbidden and allowed. especially the food that is halal It is a food that is beneficial to the body. which, when summed up Both religions view the issue of dietary control as knowing the true benefits of food. | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.subject | การบริโภคอาหาร -- แง่ศาสนา | th |
dc.subject | Food consumption -- Religious aspects | th |
dc.subject | ศาสนาอิสลาม | th |
dc.subject | Islam | th |
dc.subject | พุทธศาสนา | th |
dc.subject | Buddhism | th |
dc.subject | การควบคุมการบริโภคอาหาร | th |
dc.subject | Dietary control | th |
dc.title | การศึกษาเปรียบเทียบการควบคุมการบริโภคอาหารในทัศนะ ของพระพุทธศาสนาเถรวาทกับศาสนาอิสลาม | th |
dc.title.alternative | A Comparative Study of Dietary Control in the view of Theravada Buddhism and Islam | th |
dc.type | Article | th |
Appears in Collections: | Liberal Arts - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Dietary-Control.pdf | 77.52 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.