Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1905
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจริยาวัฒน์ โลหะพูนตระกูล-
dc.contributor.authorJariyarwat Lohapoontrakool-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Artsth
dc.date.accessioned2024-03-15T04:59:49Z-
dc.date.available2024-03-15T04:59:49Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.citationวารสารศิลปะศาสตร์ปริทัศน์ 17, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2564) : 1-14th
dc.identifier.issn1905-2863 (Print)-
dc.identifier.issn2730-2296 (Online)-
dc.identifier.otherhttps://doi.org/10.14456/lar.2022.1-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1905-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so04.tci-thaijo.org/index.php/larhcu/article/view/255459/176001th
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตลักษณ์ของชุมชนวัดบัวโรย เพื่อให้เกิดการรับรู้และเข้าใจตรงกันถึงอัตลักษณ์ของพื้นที่ที่จะพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว และเพื่อสื่อสารอัตลักษณ์สำคัญของแหล่งท่องเที่ยว ให้แก่บุคคลในพื้นที่และบุคคลทั่วไปรับรู้ ด้วยการสร้างช่องทางการสื่อสารผ่านสื่อบุคคลและช่องทางต่างๆ พื้นที่ศึกษาคือวัดบัวโรยและชุมชนโดยรอบ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 50 คน ประกอบด้วยเจ้าอาวาสและพระสงฆ์วัดบัวโรย ปราชญ์ชุมชน ผู้นำชุมชน นายกองค์การบริหารส่วนตำบลบางเสาธงและเจ้าหน้าที่ ครูและนักเรียนโรงเรียนวัด บัวโรยชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และประชาชนที่มาทำบุญที่วัดประมาณ 100 คน ศึกษาข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ สนทนากลุ่ม การประชุมเพื่อระดมสมองและวิเคราะห์ชุมชน แบบสอบถามและการจดบันทึก ผลการศึกษาพบว่า ชุมชนได้รับทราบข้อมูลด้านอัตลักษณ์สำคัญของพื้นที่ที่จะส่งเสริมให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว ซึ่งประกอบด้วยอัตลักษณ์ 4 ด้าน ได้แก่ 1) อัตลักษณ์ด้านประวัติศาสตร์ 2) อัตลักษณ์ด้านคุณค่าทางสุนทรียศาสตร์หรือความงาม 3) อัตลักษณ์ด้านคุณค่าทางสังคม 4) อัตลักษณ์ด้านสิ่งแวดล้อม และมีการสร้างรูปแบบการสื่อสารทั้งสื่อวิดีทัศน์ แผ่นป้ายไวนิล พัฒนาสื่อบุคคลด้วยการอบรมพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษให้แก่ครูและเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลบางเสาธง และพัฒนาทักษะการใช้ภาษาไทยของยุวมัคคุเทศก์ให้นักเรียน เพื่อให้เกิดการรับรู้อัตลักษณ์และสามารถสื่อสารอัตลักษณ์ในแหล่งท่องเที่ยวได้th
dc.description.abstractThis research aimed to and publicize the community identity of Bua-roi Temple and its neighborhood for developing the area to be a tourist attraction. The distinguished identities were publicized to both local and general people through various channels. The area studied were the Buaroi Temple and its surrounding communities. The sampling population was composed of 50 informants, including the abbot and monks of Bua-roi Temple, community sages and leaders; the Chief Executive and officials of Bang-sao-thong Subdistrict Administrative Organization; the director, teachers, and M5 students of Wat Bua-roi School; and 100 local people who usually attended the temple services. Data gathering tools inciuded interviewing, group discussion, brainstorming, analyzing meetings relating to the community, questionnaire, and note- taking. Research findings show that the community gained important information on four aspects of identities beneficial for promoting their tourist attraction, which were 1) historical identity; 2) aesthetic identity; 3) social values identity; and 4) environmental identity. For publicizing, videos and vinyl banners were created; also tourism personnel, including teachers and officials of Bang-sao-thong Subdistrict Administrative Organization were trained in English usage. Moreover, students were also trained on Thai language usage being youth tour-guides publicizing accurate identities of their tourist attraction.th
dc.language.isothth
dc.subjectการท่องเที่ยวโดยชุมชนth
dc.subjectการท่องเที่ยว -- การมีส่วนร่วมของประชาชนth
dc.subjectTravel -- Citizen participationth
dc.subjectชุมชนวัดบัวโรย (สมุทรปราการ) -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยวth
dc.subjectBua-roi Temple (Samut Prakarn) -- Description and travelth
dc.subjectอัตลักษณ์th
dc.subjectIdentity (Philosophical concept)th
dc.titleการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชนด้วยการศึกษาและสื่อสารอัตลักษณ์ของชุมชน : กรณีศึกษาวัดบัวโรย อ.บางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการth
dc.title.alternativeCommunity Tourism Development by Identity Study and Publicizing: a Case Study of Bua-roi Temple, Bangsaothong District, Samutprakan Provinceth
dc.typeArticleth
Appears in Collections:Liberal Arts - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Community-Tourism-Development.pdf75.28 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.