Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1906
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจริยาวัฒน์ โลหะพูนตระกูล-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะศิลปศาสตร์th
dc.date.accessioned2024-03-15T05:14:40Z-
dc.date.available2024-03-15T05:14:40Z-
dc.date.issued2020-
dc.identifier.citationJournal of Social Sciences and Humanities Research in Asia 26, 1 (มกราคม-เมษายน 2563) : 43-76th
dc.identifier.issn2774-1044 (Print)-
dc.identifier.issn2822-0986 (Online)-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1906-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so05.tci-thaijo.org/index.php/psujssh/article/view/251956/174649th
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมภาคส่วนต่างๆ ให้มีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุใน ต.จรเข้น้อย จ.สมุทรปราการ เป็นการผสมผสาน การวิจัยปฏิบัติการเชิงเทคนิคที่ผู้วิจัยภายนอกเป็นผู้ทำวิจัยหลัก ร่วมกับการเปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติในพื้นที่ได้มีส่วนร่วมในขั้นตอนต่างๆ จึงเป็นกลไกสำคัญที่ประสานให้ภาคส่วนต่างๆ เข้ามาร่วมดำเนินการเพื่อวางแผนดูแลผู้สูงอายุในพื้นที่เป็นผลสำเร็จ โดยการวิจัยนี้ใช้แนวคิดของสตริงเจอร์ ที่แบ่งการทำงานเป็น 3 ขั้นคือ 1) มองดู 2) คิด 3) ลงมือทำ โดยขั้นที่สำคัญคือ มองดู เพราะเป็นการสะท้อนปัญหาและชวนคิดว่าจะทำอย่างไรต่อ ซึ่งได้ก่อให้เกิดความตระหนักและเข้ามามีส่วนร่วมดำเนินการ ผลการวิจัยที่ได้ เกิดจากการใช้เทคนิคและเครื่องมือที่ต้องสอดคล้องกับแต่ละขั้นตอนของการวิจัย เริ่มตั้งแต่เครื่องมือในการค้นหาปัญหา ซึ่งใช้ทั้งวิธีการเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ การทำแผนโดยใช้เทคนิคการระดมสมอง การประชุมด้วยกระบวนการ A-I-C การสะท้อนกลับข้อมูล การสื่อสารเชิงบวก จนนำไปสู่ข้อตกลงความร่วมมือ 10 องค์กรและแผนงาน 3 ปี โดยแต่ละองค์กรได้สนับสนุนการดำเนินงานตามศักยภาพของตน เช่น การจัดสรรงบประมาณ สถานที่และบุคลากร นับเป็นการเอื้อและส่งเสริมให้การดำเนินโครงการในลักษณะการวิจัยเชิงปฏิบัติซึ่งต้องใช้ระยะเวลานาน ดำเนินไปได้อย่างต่อเนื่องth
dc.description.abstractThis research aimed to promote the related sectors to participate in the elderly caring in Tambon Srisajorakenoi, Samutprakarn Province. The research was an action research integrated into a echnical action research. The main researcher was an outsider of the community cooperating with the community members who acted as practitioners in every step of the research. This action research was the key factor attracting all related sectors to participate in planning and proceeding the elderly caring program in the community. The main concept of this research followed the 3 steps of Stringer’s ideas, which were: 1) Sorting out; 2) Analyzing; and 3) Acting. The first step of ‘sorting out’ was very important since it helped in finding out problems, then stimulated the action plan and led to the awareness and cooperation of the related sectors. Research findings were resulted from suitable techniques coherent with devices in each step, including the brain-storming used in making the plan; the A-I-C processes meeting; the information feedback; and the positive communication. The agreement of cooperation and the 3-year plan were rigid outcomes contributed by 10 related sectors showing the long term of work based on this action research.th
dc.language.isothth
dc.subjectผู้สูงอายุ -- การดูแลth
dc.subjectOlder people -- Careth
dc.subjectการพัฒนาชุมชน -- ไทย -- สมุทรปราการth
dc.subjectCommunity development -- Thailand -- Samut Prakarnth
dc.subjectการมีส่วนร่วมของประชาชนth
dc.subjectCitizen participationth
dc.subjectศีรษะจรเข้น้อย (สมุทรปราการ)th
dc.subjectSrisajorakenoi (Samut Prakarn)th
dc.titleการวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมบทบาทบ้าน วัด โรงเรียน และภาคส่วนที่เกี่ยวข้องให้มีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน ต.ศีรษะจรเข้น้อย จ. สมุทรปราการth
dc.title.alternativeAn Action Research of Promoting the Cooperation of Family, Temple, School and Related Sectors in Elderly Caring in Tambon Srisajorakenoi, Samutprakarn Provinceth
dc.typeArticleth
Appears in Collections:Liberal Arts - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cooperation-of-Family-Temple-School.pdf84.62 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.