Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1954
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ณัฐริณี หอระตะ | - |
dc.contributor.author | ทวีพร พันธุ์พาณิชย์ | - |
dc.contributor.author | ศราวุธ สุทธิรัตน์ | - |
dc.contributor.author | อิสสริยา เอี่ยมสุวรรณ | - |
dc.contributor.author | กรภัทร นาคาไชย | - |
dc.contributor.author | โสรยา แก้วเลื่อน | - |
dc.contributor.author | สโรชา แก้วเลื่อน | - |
dc.contributor.author | Natharinee Horata | - |
dc.contributor.author | Taweebhorn Panpanich | - |
dc.contributor.author | Sarawut Suttirat | - |
dc.contributor.author | Isariya Ieamsuwan | - |
dc.contributor.author | Koraphat Nakachai | - |
dc.contributor.author | Soraya Kaewluan | - |
dc.contributor.author | Sarocha Kaewluan | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology | th |
dc.date.accessioned | 2024-03-23T11:51:43Z | - |
dc.date.available | 2024-03-23T11:51:43Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.citation | วารสาร มฉก. วิชาการ 26,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2565) : 249-260 | th |
dc.identifier.issn | 0859-9343 (Print) | - |
dc.identifier.issn | 2651-1398 (Online) | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1954 | - |
dc.description | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/254789/175606 | th |
dc.description.abstract | สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ส่งผลกระทบให้มีการปรับเปลี่ยนระบบการจัดการศึกษาให้มีการเรียนการสอนแบบออนไลน์เพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อการปรับตัวด้านต่าง ๆ ของนักศึกษา อาจทำให้เกิดความวิตกกังวล และความเครียดมากขึ้น งานวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปรับตัวของนักศึกษาคณะเทคนิคการแพทย์ในช่วงสถานการณ์โควิด-19 และเปรียบเทียบการปรับตัวของนักศึกษาที่มีข้อมูลส่วนบุคคลต่างกัน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ชั้นปีที่ 3 และ 4 จำนวน 197 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.94 ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่าง มีการปรับตัวภาพรวมได้ระดับมาก (M=3.59, SD=0.74) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านสังคมมีค่าเฉลี่ยสูงสุด (M=3.82, SD=0.54) รองลงมาคือด้านการเรียน (M=3.59, SD=0.85) ด้านการมีส่วนร่วมในกิจกรรม (M=3.34, SD=1.13) และด้านอารมณ์ (M=3.19, SD=0.61) ตามลำดับ เพศชายและหญิงมีการปรับตัวด้านการเรียน และด้านอารมณ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (p < 0.05) และนักศึกษาต่างชั้นปีมีการปรับตัวด้านการเรียน ด้านสังคม และด้านการมีส่วนร่วมในกิจกรรม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (p <0.05) | th |
dc.description.abstract | The covid-19 virus pandemic resulted in the modification of educational management systems that included more online teaching and learning. The online study system affects the adaptation in various aspects of students. It may cause more anxiety and stress. This survey research aims to study the adaptation of students in the faculty of medical technology during the COVID-19 situation and compare in term of different personal data. This study was conducted on 197 samples in 3rd and 4th-year medical technology students, at Huachiew Chalermprakiet university using online questionnaires which have a confidence value of 0.94. The overall adaptation in all four aspects is at a high level (M=3.59, SD=0.74). When considered in each aspect, the highest mean of adaptation was in the social aspect (M=3.82, SD=0.54), followed by adaptation in the learning aspect (M=3.59, SD=0.85), adaptation in the activities participation aspect (M=3.34, SD=1.13), and adaptation in emotional aspect (M=3.19, SD=0.61), respectively. Males and females show significant differences in adaptation of emotional and learning (p < 0.05). Different years of the students show significantly differences in adaptation of learning, social and activities participation (p < 0.05). | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.subject | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเทคนิคการแพทย์ -- นักศึกษา | th |
dc.subject | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology -- Students | th |
dc.subject | โควิด-19 (โรค) | th |
dc.subject | COVID-19 (Disease) | th |
dc.subject | การระบาดใหญ่ของโควิด-19, ค.ศ. 2020- | th |
dc.subject | COVID-19 Pandemic, 2020- | th |
dc.subject | การปรับตัว (จิตวิทยา) | th |
dc.subject | Adjustment (Psychology) | th |
dc.title | การปรับตัวของนักศึกษาคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ในช่วงสถานการณ์การระบาดใหญ่ของโรคโควิด-19 | th |
dc.title.alternative | Adaptation of Medical Technology Students at Huachiew Chalermprakiet University during Covid-19 Pandemic | th |
dc.type | Article | th |
Appears in Collections: | Medical Technology - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Adjustment-COVID-19.pdf | 88.5 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.