Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1958
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ณัฏฐ์ศศิ ชูกิจรุ่งโรจน์ | - |
dc.contributor.author | อารยะ ศรีสุข | - |
dc.contributor.author | อังคณา เพียผิว | - |
dc.contributor.author | ชนิญญา หังสาจะระ | - |
dc.contributor.author | กฤติกา บัวประเสริฐ | - |
dc.contributor.author | เสาวลักษณ์ ปานสิงห์ | - |
dc.contributor.author | รติกาล สังข์สวาท | - |
dc.contributor.author | Natsasi Chukijrungroat | - |
dc.contributor.author | Araya Srisuk | - |
dc.contributor.author | Angkana Peaphiw | - |
dc.contributor.author | Chaninya Hangsajara | - |
dc.contributor.author | Krittika Buapasert | - |
dc.contributor.author | Saowaluck Pansing | - |
dc.contributor.author | Ratikarn Sangswat | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy | th |
dc.date.accessioned | 2024-03-23T13:03:19Z | - |
dc.date.available | 2024-03-23T13:03:19Z | - |
dc.date.issued | 2021 | - |
dc.identifier.citation | วารสารการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ 28, 1 (เมษายน 2564) : 55-69 | th |
dc.identifier.issn | 2651-2084 (Online) | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1958 | - |
dc.description | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jmhs/article/view/249190/168796 | th |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลทันทีของการออกกำลังกายด้วยท่าฤๅษีดัดตนต่อความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อต้นขาด้านหลัง กล้ามเนื้อน่อง และการทรงตัวในนักศึกษาหญิงที่ไม่ได้ออกกำลังกายเป็นประจำ อายุระหว่าง 18-25 ปี จำนวน 30 คน โดยสุ่มจับสลากแบ่งผู้เข้าร่วมวิจัยออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มควบคุมและกลุ่มออกกำลังกาย กลุ่มละ 15 คน โดยในกลุ่มออกกำลังกายจะได้รับการฝึกท่าฤๅษีดัดตนพื้นฐาน 18 ท่า เป็นเวลา 30 นาที ส่วนกลุ่มควบคุมไม่ได้รับการออกกำลังกายระหว่างการเข้าร่วมวิจัย ผู้เข้าร่วมงานวิจัยทั้ง 2 กลุ่มได้รับการวัดความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อต้นขาด้านหลัง กล้ามเนื้อน่อง และความสามารถในการยืนทรงตัว ก่อนและทันทีหลังการออกกำลังกายด้วยท่าฤๅษีดัดตน จากการศึกษาพบว่า การออกกำลังกายด้วยฤๅษีดัดตนทำให้ความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อต้นขาด้านหลัง กล้ามเนื้อน่อง และความสามารถในการยืนทรงตัวขณะเคลื่อนที่ในทิศด้านหลังข้างใน (Posteromedial) และด้านหลังข้างนอก (Posterolateral) เพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ผลการวิจัยแสดงให้เห็นประโยชน์ของการออกกำลังกายด้วยฤๅษีดัดตนต่อการเพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อต้นขาด้านหลัง กล้ามเนื้อน่องและความสามารถในการยืนทรงตัวขณะเคลื่อนที่ในนักศึกษามหาวิทยาลัยเพศหญิงที่ไม่ได้ออกกำลังกายเป็นประจำและกิจกรรมส่วนใหญ่อยู่ในท่านั่งเป็นระยะเวลานาน | th |
dc.description.abstract | The purpose of this research is to investigate the immediate effects of Ruesi-Dudton exercise on the flexibility of hamstrings-gastrocnemius and balance in 30 sedentary female university students, aged between 18 to 25, and who did not perform regular exercise. The subjects were randomly assigned into exercise and control groups. The subjects in the exercise group participated in the 18 basic poses of the Ruesi-Dadton exercise program, whereas the subjects in the control group did not receive any exercise program. The flexibility of hamstrings-gastrocnemius and balance were determined in each subject before and immediately after exercise. It was found that the subjects in the exercise group had significantly greater flexibility of hamstrings-gastrocnemius and dynamic balance in posteromedial and posterolateral directions than those in the control group (p<0.05). The results indicated the benefits of Ruesi-Dadton exercise on the flexibility of hamstrings-gastrocnemius and dynamic balance among female university students who commonly performed minimal physical activities and with a prolonged sitting posture. | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.subject | ฤาษีดัดตน | th |
dc.subject | Thai hermit exercise (Ruesi-Dudton) | th |
dc.subject | กายบริหาร | th |
dc.subject | Exercise | th |
dc.subject | การทรงตัว | th |
dc.subject | Equilibrium (Physiology) | th |
dc.subject | ความยืดหยุ่น | th |
dc.subject | Flexibility | th |
dc.subject | กำลังกล้ามเนื้อ | th |
dc.subject | Muscle strength | th |
dc.title | ผลทันทีของการออกกำลังกายด้วยท่าฤๅษีดัดตนต่อความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อต้นขาด้านหลัง กล้ามเนื้อน่อง และการทรงตัวในนักศึกษาหญิงระดับมหาวิทยาลัย | th |
dc.title.alternative | Immediate effects of Ruesi-Dudton exercise on flexibility of Hamstrings-Gastrocnemius and balance in female university students | th |
dc.type | Article | th |
Appears in Collections: | Physical Therapy - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Exercise.pdf | 89.33 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.