Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1961
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorบังอร ฉางทรัพย์-
dc.contributor.authorสุภาภรณ์ วรรณภิญโญชีพ-
dc.contributor.authorชูศักดิ์ นิธิเกตุกุล-
dc.contributor.authorจิตรบรรจง ตั้งปอง-
dc.contributor.authorBangon Changsap-
dc.contributor.authorSupaporn Wannapinyosheep-
dc.contributor.authorChoosak Nithikathkul-
dc.contributor.authorJitbanjong Tangpong-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technologyth
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technologyth
dc.contributor.otherMahasarakham University. Faculty of Medicineth
dc.contributor.otherWalailak University. School of Allied Health Sciencesth
dc.date.accessioned2024-03-23T13:35:08Z-
dc.date.available2024-03-23T13:35:08Z-
dc.date.issued2017-
dc.identifier.citationวารสารวิชาการสาธารณสุข 26, 4 (กรกฎาคม-สิงหาคม 2560) : 829-837th
dc.identifier.issn3027-7396 (Print)-
dc.identifier.issn3027-740X (Online)-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1961-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://thaidj.org/index.php/JHS/article/view/2/2th
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบอัตราการติดเชื้อพยาธิเข็มหมุในเด็กที่อาศัยในชุมชนแออัดในเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร รวมทั้งเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงอัตราการติดเชื้อพยาธิเข็มหมุดกับการศึกษาในอดีต และวิเคราะห์ความพันธ์ระหว่างอัตราการติดเชื้อพยาธิเข็มหมุดกับปัจจัยที่เกี่ยวกับข้อง ทำการศึกษาโดยการตรวจหาไข่พยาธิเข็มหมุดด้วยวิธีสกอตเทปเทคนิคในเด็กช่วงอายุแรกเกิดถึง 5 ปี ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2556 ในสถานรับเลี้ยงเด็กและศูนย์เด็ก 15 แห่ง ในชุมชนคลองเตย กรุงเทพมหานคร เด็กที่ตรวจ จำนวน 1,030 คน เป็นเพศชาย 527 คน และเพศหญิง 503 คน ผลการตรวจพบเด็กติดเชื้อ 91 คน (ร้อยละ 8.83) เป็นเพศชาย 49 คน (ร้อยละ 9.30) และเพศหญิง 42 คน (ร้อยละ 8.35) อัตราการติดเชื้อดังกล่าวต่ำกว่าการสำรวจในปี พ.ศ. 2545 ซึ่งพบอัตราการติดเชื้อในเด็กวัยเดียวกัน ร้อยละ 15.86 เมื่อวิเคราะห์ความพันธ์ระหว่างอัตราการติดเชื้อและปัจจัยที่ศึกษา ได้แก่ เพศของเด็ก สถานะทางเศรษฐกิจและสังคมของผู้ปกครองเด็ก (อาชีพ รายได้ การศึกษา) พื้นเพดั้งเดิมของผู้ปกครองเด็ก อาการแสดงของโรคในเด็ก และการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคพยาธิของเด็ก พบว่า อาชีพของผู้ปกครองเด็ก และการปฎิบัติตนในการป้องกันโรคพยาธิของเด็กมีความสัมพันธ์กับอัตราการติดเชื้อพยาธิเข็มหมุดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนปัจจัยอื่นไม่มีความสัมพันธ์กับอัตราการติดเชื้อพยาธิเข็มหมุด (p<0.05) ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า โรคพยาธิเข็มหมุดยังคงมีการระบาดอยู่ในชุมชนคลองเตย กรุงเทพมหานคร ถึงแม้ว่าในปัจจุบันจะมีอัตราการติดเชื้อต่ำกว่าการสำรวจในอดีตก็ตาม ทั้งนี้ควรส่งเสริมให้เด็กมีการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคพยาธิอย่างถูกต้อง รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้โปรแกรมในการป้องกันโรคพยาธิแก่เด็ก ผู้ปกครอง เด็กและผู้ดูแลเด็ก เพื่อลดอัตราการแพร่ระบาดของพยาธิเข็มหมุดในชุมชนต่อไปth
dc.description.abstractThe purposes of this survey were to determine the rates of enterobiasis among children in Khlong Toei Community, Bangkok, and to compare the prevalence with those recorded in a previous study. It also analyzed the relationship between the rate of enterobiasis and potential risk factors. The survey was conducted between February 2021 and January 2013 in 15 of the nursery with children's Center in Khlong Toey community, Bangkok. Enterobius vermicularis eggs were detected by using Scotch tape technique in children ages birth to 5 years. A total of 1,030 children were examined, 527 males and 503 females. The overall egg positive children were 91 (8.83%) that comprised 49 male (9.30%) and 42 female (8.35%). The infection rate was lower than the 2002 survey, of which the rate in children of the same age was 15.86%. The analysis of the relationship between the prevalence and factors include the sex of the child, socioeconomic status of the parents (occupation, income, education), originally native parents, symptoms and practice to prevent parasitic infection of the children revealed that the occupation of the parents and practice to prevent parasitic infection of the children were associated with the infection rate significantly (p<0.05) but the remaining factors not associatiated (p<0.05). The findings showed that the Enterobius vermicularis infection still a pandemic in Khlong Toey community, Bangkok although the infection rate was lower than in the previous survey. This should promote or encourage children to behave properly in the parasitic prevention behavior. The agency should provide parasitic prevention programs for children, parents and caretakers to prevent and reduce the spread of enterobiasis in the community.th
dc.language.isothth
dc.subjectพยาธิเส้นด้ายth
dc.subjectEnterobiusth
dc.subjectเด็ก -- โรคth
dc.subjectChildren -- Diseasesth
dc.subjectชุมชนคลองเตยth
dc.subjectKhlong Toei Communityth
dc.subjectคลองเตย (กรุงเทพฯ)th
dc.subjectKhlong Toei (Bangkok, Thailand)th
dc.titleการสำรวจการติดเชื้อพยาธิเข็มหมุดในเด็กกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องในชุมชนคลองเตย กรุงเทพมหานคร และการเปรียบเทียบกับการศึกษาในอดีตth
dc.title.alternativeA Survey on Enterobiasis along with Potential Risk Factors among Children in Khlong Toei Community, Bangkok and comparative Study of the Pastth
dc.typeArticleth
Appears in Collections:Science and Technology - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Enterobius.pdf86.81 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.