Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/196
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร | - |
dc.contributor.advisor | Jaturong Boonyarattanasoontorn | - |
dc.contributor.author | สุชญา เฑียรแสงทอง | - |
dc.contributor.author | Suchaya Thiansaengthong | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare | - |
dc.date.accessioned | 2022-05-02T14:49:37Z | - |
dc.date.available | 2022-05-02T14:49:37Z | - |
dc.date.issued | 2019 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/196 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ปร.ด.) (การบริหารสวัสดิการสังคม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2562 | th |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์การศึกษา 3 ประการ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสถานการณ์การให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพสำหรับเด็กสมองพิการในศูนย์บริการคนพิการทั่วไปและเครือข่าย 2) เพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนามาตรฐานการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพสำหรับเด็กสมองพิการในศูนย์บริการคนพิการทั่วไปและเครือข่าย และ 3) เพื่อศึกษาต้นทุนต่อหน่วยบริการฟื้นฟูสมรรถภาพสำหรับเด็กสมองพิการในศูนย์บริการคนพิการทั่วไปและเครือข่าย โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยจากการศึกษาจากเอกสารและการวิจัยภาคสนามจากการสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 37 คน ประกอบด้วยผู้บริหารระดับนโยบาย 1 คน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์บริการคนพิการทั่วไป 1 คน หัวหน้าผู้บริหารศูนย์บริการคนทั่วไปและเครือข่าย 5 คน ผู้ให้บริการศูนย์บริการคนพิการทั่วไปและเครือข่าย 15 ราย และผู้รับบริการศูนย์บริการคนพิการทั่วไปและเครือข่าย 15 คน ผลการศึกษาพบว่า 1) ในปัจจุบันมาตรฐานการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพสำหรับเด็กสมองพิการนั้นยังไมม่ได้จัดตั้งขึ้น มีเพียงแต่มาตรฐานกลางสำหรับการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพสำหรับคนพิการทุกประเภทที่สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ ได้กำหนดไว้สำหรับการใช้งานทั่วไปเท่านั้น 2) แนวทางในการพัฒนามาตรฐานการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพสำหรับเด็กสมองพิการในศูนย์บริการคนพิการทั่วไปและเครือข่ายประกอบด้วย 8 องค์ประกอบ 25 ตัวชี้วัด ได้แก่ (1) คุณสมบัติผู้ให้บริการ (2) สถานที่ตั้งเครื่องมือ อุปกรณ์สิ่งอำนวยความสะดวก (3) การเข้าถึงบริการ (4) สิทธิประโยชน์สำหรับเด็กพิการ (5) การให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ (6) ระบบการบันทึกข้อมูล (7) ระบบการประสานส่งต่อ (8) การวัดผลและการประเมินผลคุณภาพการให้บริการ และ 3) ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อกิจกรรมตามที่ระเบียบภาครัฐกำหนดไว้ 150 บาท และ 75 บาท นั้นเป็นที่น่าพอใจ แต่ยังพบจุดอ่อนคือการบันทึกค่าใช้จ่ายและระบบบัญชีที่ควรได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้น | th |
dc.description.abstract | This is a qualitative aiming forwards 3 study objectives: The situation of rehabilitation services provision for Cerebral Palsy Children (CP) in Disability Services Center (DSC) and its Networks, Suggestive guidelines to develop standard of rehabilitation services for CP in DSC and Its Networks, and the unit cost of rehabilitation services for these. Documentary and field research using indepth interviews for data collection from purposive sampling group of 37 persons composing of policy level executive, 1 chair person of the Administrative Board, 5 chief executive of each Disability Services Center and Its Networks, 15 services provides of each, and 15 services recipient of each. The results of this study reveals that 1) at the present time, the standard for rehabilitation services provision 15 not yet set up, only central for rehabilitation services provision for all kind of Persons with Disabilities set by Sirindhorn National Medical Rehabilitation Institute (SNMRI), is used for general implementation. 2) Suggestive guidelines to develop standard of rehabilitation services for CP children composing of 8 aspects with 25 indicator of (1) Services provider's qualification (2) Service place, instruments and facilities (3) Service accessibility. (4) CP utilities (5) Capability rehabilitation services. (6) Information record system (7) Patient delivery system, and (8) Service assessment and quality evaluation. 3) The expenditive per head per activity @150 baht and @75 baht are formal satisfied but the weak point are the expenditure recording and accounting system should be improved for betterness. | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | th |
dc.subject | ศูนย์บริการคนพิการทั่วไป | th |
dc.subject | เด็กสมองพิการ | th |
dc.subject | การฟื้นฟูสมรรถภาพ | th |
dc.subject | Cerebral palsied children | th |
dc.subject | Rehabilitation | th |
dc.title | การพัฒนามาตรฐานการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพสำหรับเด็กสมองพิการในศูนย์บริการคนพิการทั่วไปและเครือข่าย | th |
dc.title.alternative | Standard Development of Rehabilitation Services for Cerebral Palsy Children in Disability Services Center and Its Networks | th |
dc.type | Thesis | th |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | th |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | th |
dc.degree.discipline | การบริหารสวัสดิการสังคม | th |
Appears in Collections: | Social Work and Social Welfare - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
SUCHAYA-HIANSAENGTHONG.pdf | 5.9 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.