Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2023
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ธนาชัย สุนทรอนันตชัย | - |
dc.contributor.author | Thanachai Suntonanantachai | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Law | th |
dc.date.accessioned | 2024-04-12T10:50:40Z | - |
dc.date.available | 2024-04-12T10:50:40Z | - |
dc.date.issued | 2017 | - |
dc.identifier.citation | วารสารวิชาการ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 7, 2 (มกราคม-มิถุนายน 2560) : 52-65 | th |
dc.identifier.issn | 2286-6965 (Print) | - |
dc.identifier.issn | 2730-2563 (Online) | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2023 | - |
dc.description | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so01.tci-thaijo.org/index.php/lawhcu/article/view/157551/114118 | th |
dc.description.abstract | ภายใต้นิยามความหมายของคำว่าสวัสดิการสังคมตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเดิม ได้ให้ความสำคัญกับการจัดสวัสดิการสังคมซึ่งแฝงไว้ด้วยแนวคิด ของความเท่าเทียม ความเสมอภาค และความเป็นธรรมทางสังคม บทความวิชาการฉบับนี้ผู้เขียนจึงมุ่งที่จะสะท้อนมุมมองของแนวคิดทั้งสามประการข้างคั่นผ่านการพัฒนาระบบสวัสดิการสังคม 4 เสาหลัก ในประเทศไทย ได้แก่ 1) การช่วยเหลือทางสังคม 2) การประกันสังคม 3) การบริการสังคม และ 4) การสนับสนุนหุ้นส่วนทางสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งแนวคิดการสนับสนุนหุ้นส่วนทางสังคมที่ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญต่อการจัดระบบสวัสดิการสังคมในประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น ซึ่งผู้เขียนเห็นว่าจะสามารถลดและอุดช่องว่างของความไม่เท่าเทียม และความไม่เสมอภาคของการจัดสวัสดิการสังคมโดยภาครัฐ และสามารถสร้างความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นในสังคมได้ | th |
dc.description.abstract | The definition meaning of Social Welfare under Social Welfare Promotion Act, B.E. 2546 and amendment has focused on Social Welfare, concealed by the concept of equality, equity and social justice. This paper is aimed at reflecting on the three concepts above through the development of four social welfare system in Thailand, which are 1) Public Assistance 2) Social Insurance 3) Social Service and 4) Social Support Partnership Promotion - SSPP. In particular, the concept of supporting social partners has played an increasingly important role in the organization of social welfare systems in Thailand. The author sees that it can reduce and fill the gaps of inequality, inequity in the provision of social welfare systems by the public sector and it can create Social Justice in the society. | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.subject | ความเสมอภาค | th |
dc.subject | Equality | th |
dc.subject | พระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2546 | th |
dc.subject | Social Welfare Promotion Act, B.E. 2546 | th |
dc.subject | บริการสังคม -- ไทย | th |
dc.subject | Social services -- Thailand | th |
dc.subject | ประกันสังคม -- ไทย | th |
dc.subject | Social security -- Thailand | th |
dc.subject | ความยุติธรรมทางสังคม -- ไทย | th |
dc.subject | Social justice -- Thailand | th |
dc.title | ความเท่าเทียม ความเสมอภาค และความเป็นธรรมทางสังคม กับการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศไทย | th |
dc.title.alternative | The Equality, Equity and Social Justice with the Social Welfare of Thailand | th |
dc.type | Article | th |
Appears in Collections: | Law - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Equality.pdf | 109.29 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.