Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2024
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ธนาชัย สุนทรอนันตชัย | - |
dc.contributor.author | Thanachai Suntonanantachai | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Law | th |
dc.date.accessioned | 2024-04-12T11:33:52Z | - |
dc.date.available | 2024-04-12T11:33:52Z | - |
dc.date.issued | 2011 | - |
dc.identifier.citation | วารสารวิชาการ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 2, 2 (ธันวาคม 2554-พฤษภาคม 2555) : 115-123 | th |
dc.identifier.issn | 2286-6965 (Print) | - |
dc.identifier.issn | 2730-2563 (Online) | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2024 | - |
dc.description | สามารถเข้ถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so01.tci-thaijo.org/index.php/lawhcu/article/view/157806/114289 | th |
dc.description.abstract | การจัดบริการสาธารณะถือเป็นการกิจที่สำคัญประการหนึ่งของรัฐสมัยใหม่ ซึ่งต้องดำเนินการเพื่อ ประโยชน์แก่ประชาชนทุกคนกายในรัฐ โดยในการจัดบริการสาธารณะของรัฐนั้น มีหลักการพื้นฐานสำคัญที่รัฐต้องคำนึงถึงประการหนึ่งคือ "หลักความเสมอภาค" ซึ่งจะเป็นหลักประกันแก่ประชาชนทุกคนภายในรัฐว่า ในการจัดบริการสาธารณะนั้น รัฐมิได้มีจุดมุ่งหมายที่จะจัดทำบริการสาธารณะขึ้นเพื่อประโยชน์ของผู้ใดผู้หนึ่งโดยเฉพาะ แต่เป็นการจัดทำเพื่อประโยชน์ของประชาชนทุกคน อันหมายรวมถึงคนพิการด้วยกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดบริการสาธารณะให้กับคนพิการในประเทศไทยในปัจจุบันนั้นก็มีแนวคิดที่สอดคล้องกับหลักความเสมอภาคเช่นเดียวกัน กล่าวคือ ได้มีการนำมุมมองเชิงโมเดลหรือรูปแบบระบบทางสังคม (Social Model) มาอธิบายและปรับใช้ในการให้คำนิยามความหมายของคำว่า "ความพิการ" ตลอดจนนำไปสู่หลักการที่รัฐต้องจัดบริการสารารณะให้แก่คนพิการเท่าเทียมกับบุดคลทั่วไป โดยจากแต่เดิมที่สังคมมักมองว่าความพิการเกิดจากความบกพร่อง หรือความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจของบุคคลแต่ละคน ได้เปลี่ยนแปลงมาเป็นแนวคิดที่ว่า สภาพแวดล้อมหรือปัจจัยภายนอกที่สังคมสร้างขึ้นต่างหาก ที่จะเป็นสาเหตุสำคัญในการอธิบายว่าบุคคลคนหนึ่งจะเป็นผู้พิการหรือไม่ ดังนั้น หากสังคมและรัฐได้ดำเนินการจัดสภาพแวดล้อมภายในรัฐให้เอื้อต่อการดำรงชีวิตของคนพิการแล้ว ก็จะทำให้คนพิการได้รับสิทธิเสริภาพในการเข้าถึงบริการสาธารณะจากรัฐอย่างเสมอภาคเช่นเดียวกับคนทั่วไป | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.subject | ความเสมอภาค | th |
dc.subject | Equality | th |
dc.subject | คนพิการ | th |
dc.subject | People with disabilities | th |
dc.subject | บริการสาธารณะ | th |
dc.subject | Public services | th |
dc.subject | พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 | th |
dc.subject | Promotion and Development of Quality of life of Persons with Disabilities Act, B.E. 2550 | th |
dc.subject | พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 | th |
dc.subject | Education Provision for Persons with Disabilities Act B.E. 2551 | th |
dc.title | หลักความเสมอภาคกับการจัดบริการสาธารณะให้กับคนพิการในประเทศไทย | th |
dc.type | Article | th |
Appears in Collections: | Law - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
People-with-disabilities.pdf | 112.71 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.