Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2026
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorน้ำผึ้ง มีศิล-
dc.contributor.authorNamphueng Meesil-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfareth
dc.date.accessioned2024-04-12T11:59:21Z-
dc.date.available2024-04-12T11:59:21Z-
dc.date.issued2016-
dc.identifier.citationวารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ 9,1 (มกราคม-เมษายน 2559) : 1256-1267th
dc.identifier.issn1906-3431-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2026-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/61679/50809th
dc.description.abstractการวิจัยด้วยเทคนิคเดลฟายเป็นวิธีการรวบรวมความรู้ของผู้เชี่ยวชาญ เพื่อมุ่งศึกษาและวิเคราะห์องค์ความรู้ที่ยังไม่มีค้าตอบแน่ชัด โดยการรวบรวบและกลั่นกรองความรู้จากผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้นๆ ทั้งนี้จะต้องมีการเปิดโอกาสให้ผู้เชี่ยวชาญได้ใคร่ครวญความคิดเห็นโดยการให้ข้อมูลย้อนกลับไปยังกลุ่มผู้เชี่ยวชาญเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลในรอบถัดไป ทั้งนี้องค์ความรู้ใหม่ที่ได้รับจะเกิดจากการพิจารณามติสอดคล้องโดยเสียงข้างมาก ลักษณะส้าคัญของการวิจัยด้วยวิธีเดลฟาย คือ 1) การไม่เปิดเผยรายชื่อผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้น้าเสนอเป็นไปอย่างอิสระไม่ถูกครอบง้าด้วยกระบวนการกลุ่ม2) การให้ข้อมูลย้อนกลับไปยังผู้เชี่ยวชาญได้ทบทวนความคิดเห็น และ3)การวินิจฉัยความคิดเห็นของกลุ่มอย่างเป็นทางการ นักวิจัยส่วนใหญ่มักตกหลุมพรางในเรื่องจ้านวนที่เหมาะสมของผู้เชี่ยวชาญว่าควรมีจ้านวนที่แน่นอนและเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาความสอดคล้องของเสียงข้างมากโดยมากมักพิจารณาจากความเห็นที่สอดคล้องกันเกินร้อยละ 60 ซึ่งบทความนี้จะชี้ให้เห็นถึงมโนทัศที่ไม่ถูกต้องจนท้าให้ไม่สามารถน้าเทคนิคเดลฟายมาใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริงการน้าเสนอมุมมองใหม่ในเรื่องจ้านวนผู้เชี่ยวชาญซึ่งควรพิจารณาจากบริบทของงานวิจัยนั้นๆและเกณฑ์การพิจารณาความสอดคล้องของเสียงข้างมากในกลุ่มผู้เชี่ยวชาญซึ่งควรพิจารณาจากเครื่องมือที่ใช้ประเมินค่าความคิดเห็น จ้านวนและมาตรวัดความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญth
dc.description.abstractDelphi is research methods that blends the knowledge from a group ofexperts for enplaneand analysis the diagnose thing that have no definite answer. It collecting and distilling the knowledge from the experts on that discipline. So that this method let the experts have an opportunity to reconsider fully their opinions by a feedback to themto analyze data on next round. New fact and knowledge become from considering a consensus by the experts. Delphi technique have 3 characters, the first is namely identifying the experts’ name so that their can offer freely opinions, no diagnose from group dynamics. The second,giving the feedback to the experts for revisetheir opinions to makingandthe third, the consensuswasanalyzedform the opinion of the group officially. Many researcherswerefall into the trap on determinate number of the expert and criterion of consensusthat more than 60 percent.This article is present about researcher should be careful to misconceptionand can not to useful really delphi technique method. The criteria in considering a consensus according to the instruments which used in estimating the expert’s opinion, number or experts and measurement level of expert’s opinion.th
dc.language.isothth
dc.subjectเทคนิคเดลฟายth
dc.subjectDelphi Methodth
dc.titleการวิจัยด้วยเทคนิคเดลฟาย : การหลีกเลี่ยงมโนทัศน์ที่ไม่ถูกต้องth
dc.title.alternativeDelphi Technique : Avoidance of misconceptionth
dc.typeArticleth
Appears in Collections:Social Work and Social Welfare - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Delphi-Method.pdf109.48 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.