Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2103
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนนทยา ทางเรือ-
dc.contributor.authorเทศทัศน์ คำบุดดี-
dc.contributor.authorอรุณ สารพงษ์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเทคนิคการแพทย์th
dc.contributor.otherโรงพยาบาลคามิลเลียนth
dc.contributor.otherโรงพยาบาลคามิลเลียนth
dc.date.accessioned2024-05-02T09:04:38Z-
dc.date.available2024-05-02T09:04:38Z-
dc.date.issued2016-
dc.identifier.citationวารสาร มฉก.วิชาการ 20, 39 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2559) : 31-43th
dc.identifier.issn0859-9343 (Print)-
dc.identifier.issn2651-1398 (Online)-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2103-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/149483/109718th
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อศึกษาระดับไกลเคตฮีโมโกลบิน (HbA1C) และระดับอัลบูมินใน ปัสสาวะของผู้ป่วยโรคเบาหวาน และศึกษาความสัมพันธ์ของระดับ HbA1C ต่อการเกิดภาวะไมโคร อัลบูมินในปัสสาวะของผู้ป่วยโรคเบาหวาน จากการศึกษาระดับ HbA1C และระดับอัลบูมินในปัสสาวะ ของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลคามิลเลียน กรุงเทพมหานคร จำนวน 1,771 ตัวอย่าง พบผู้ป่วยที่มีระดับ HbA1C มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 7.0 จำนวน 1,077 ราย (ร้อยละ 60.8) พบผู้ป่วยที่มีระดับอัลบูมินในปัสสาวะสูงกว่าหรือเท่ากับ 30 mg/g creatinine จำนวน 662 ราย (ร้อยละ 37.4) นอกจากนี้ พบว่า ระดับ HbA1C มีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันกับระดับอัลบูมิน ในปัสสาวะอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=0.16, p<0.001) การตรวจพบภาวะไมโครอัลบูมินในปัสสาวะ สามารถบ่งชี้ถึงการเสื่อมหน้าที่ของไตในระยะเริ่มแรก ซึ่งผู้ป่วยอาจยังไม่มีการแสดงอาการใด ๆ ที่ สามารถตรวจพบได้ ถือเป็นการตรวจเบื้องต้นเพื่อชะลอการเกิดหรือค้นหาภาวะแทรกซ้อนทางไตใน ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผลการศึกษาครั้งนี้เป็นประโยชน์ต่อทีมแพทย์ผู้รักษารวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อติดตาม การรักษาและควบคุมปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเบาหวานต่อไปth
dc.description.abstractThe objective of this research was to study the glycated hemoglobin (HbA1C) levels and the urine albumin levels, and the relationship of HbA1C in microalbuminuria in diabetes patients. In this study, HbA1C levels and urine albumin levels were examined in 1,771 diabetes patients who had attended at Camillian hospital, Bangkok. There were 1,077 subjects (60.8 %) who had HbA1C levels ≥ 7.0 %. There were 662 subjects (37.4%) who had urine albumin levels ≥ 30 mg/g creatinine. In addition, the study showed that HbA1C levels were significant positive association with urine albumin levels (r=0.16, p<0.001). Microalbuminuria can predict the early stages of kidney disease even though the patients had not shown detectable effect symptom. This test can be used for primary screening patients with diabetes in order to reduce or to detect the risk of nephropathy. So it is hopeful that this study would benefit the medical teams in following up and controlling the risk from complication of diabetes kidney patientsth
dc.language.isothth
dc.subjectไกลเคตฮีโมโกลบินth
dc.subjectGlycated Hemoglobinth
dc.subjectไมโครอัลบูมินth
dc.subjectMicroalbuminth
dc.subjectเบาหวานth
dc.subjectDiabetesth
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างระดับไกลเคตฮีโมโกลบินและภาวะไมโครอัลบูมินในปัสสาวะของผู้ป่วยโรคเบาหวานth
dc.title.alternativeThe Relationship Between Glycated Hemoglobin (HbA1C) and Microalbuminuria in Diabetes Patientsth
dc.typeArticleth
Appears in Collections:Medical Technology - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Diabetes.pdf113.66 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.