Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2110
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | พีระพงษ์ เอื้อสุนทรวัฒนา | - |
dc.contributor.author | ชุติระ ระบอบ | - |
dc.contributor.author | แววมยุรา คําสุข | - |
dc.contributor.author | นันทวรรณ บุญรักษา | - |
dc.contributor.author | อภิญญา ไกรสําโรง | - |
dc.contributor.author | พิษณุ วรรณกูล | - |
dc.contributor.author | Peerapong Oeusoonthornwattana | - |
dc.contributor.author | Chutira Rabob | - |
dc.contributor.author | Wawmayura Chamsuk | - |
dc.contributor.author | Nantawan Boonraksa | - |
dc.contributor.author | Apinya Kraisamrong | - |
dc.contributor.author | Pitsanu Wannakul | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration | th |
dc.date.accessioned | 2024-05-03T05:19:06Z | - |
dc.date.available | 2024-05-03T05:19:06Z | - |
dc.date.issued | 2021 | - |
dc.identifier.citation | วารสาร ธุรกิจปริทัศน์ 10,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2561) : 157-176 | th |
dc.identifier.issn | 1905-713X (Print) | - |
dc.identifier.issn | 2651-2351 (Online) | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2110 | - |
dc.description | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bahcuojs/article/view/162304/117075 | th |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสํารวจความต้องการด้านการศึกษาและฝึกอบรมของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดสมุทรปราการ วิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค และแนวทางส่งเสริมด้านการศึกษาและฝึกอบรม กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ประกอบการหรือเจ้าของ ผู้บริหาร และพนักงานในธุรกิจ 4 ธุรกิจ คือ ธุรกิจการผลิต ธุรกิจการค้าส่ง ธุรกิจการค้าปลีก และธุรกิจบริการ รวมจํานวน 397 ราย เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติหาค่า ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่สําเร็จการศึกษาทางด้านบริหารธุรกิจ รองลงมา คือ วิศวกรรมศาสตร์ สําเร็จการศึกษามาแล้วเป็นเวลา 1-5 ปี มีการวางแผนที่จะศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นในหลักสูตรบริหารธุรกิจ โดยใช้ทุนส่วนตัว รวมถึงทุนจากครอบครัว เพราะการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นจะช่วยให้เกิดความก้าวหน้าในการทํางาน ส่วนการฝึกอบรมระยะสั้น ทําให้มีความรู้ลึกในงานที่ปฏิบัติ ปัญหาอุปสรรคคือ ระยะเวลา ดังนั้น ผลจากการศึกษาพบว่า ควรจัดให้มีหลักสูตรทางด้านการจัดการอุตสาหกรรมหรือโลจิสติกส์สําหรับผู้ต้องการศึกษา และจัดฝึกอบรมหลักสูตรระยะสั้นในแต่ละด้าน ดังนี้ ด้านการเงิน การบัญชีและการภาษีอากร ได้แก่หัวข้อ การวิเคราะห์การลงทุน และการใช้ excel สําหรับงานบัญชี ด้านที่สอง ได้แก่ ด้านการตลาด ได้แก่หัวข้อ การตลาดผ่าน Social Media และ e- commerce ด้านที่สาม ด้านคอมพิวเตอร์ ได้แก่หัวข้อ คือ การใช้โปรแกรม Microsoft Excel และการใช้โปรแกรม SAP ด้านที่สี่ ด้านการบริหารจัดการและอื่น ๆ ได้แก่หัวข้อ คือ ภาวะผู้นําและการทํางานเป็นทีม และการเพิ่มศักยภาพในการประกอบธุรกิจขนาดย่อม และด้านที่ห้าด้านภาษาต่างประเทศ ได้แก่ ภาษาอังกฤษ รองลงมาคือ ภาษาจีนธุรกิจ | th |
dc.description.abstract | This research aimed to explore the education and training need of small and medium enterprises in Samut Prakarn province, to analyze problems, obstacles and promotion guidelines in education and training. Sample of the study consists of 397 entrepreneurs, administrators and employees in 4 business : production, wholesaler, retailer and service sector. The research instruments were questionnaire and interviewing by using simple statistics : percentage, average and standard deviation. Research found that almost samples earnes a bachelor degree in Business Administration and Engineering for 1-5 years, they planned for higher education in business field, with their own money and with an experience supporting from their family. Career path progression is the advantage of higher education meanwhile to have profound knowledge in their job is importance issue toward training. Time is higher education’s restriction to the study. So they have to prepare the industrial or logistics and supply chain curriculum for learners, and for the short courses interested topics for financial, accounting and taxation are investment analysis, for marketing are social media marketing, for computerization is Microsoft excel program, for management are leadership and teamwork and for language requirement are English and Business Chinese. | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.subject | ธุรกิจขนาดกลาง -- ไทย -- สมุทรปราการ | - |
dc.subject | ธุรกิจขนาดย่อม -- ไทย -- สมุทรปราการ | - |
dc.subject | การฝึกอบรม | - |
dc.subject | Training | - |
dc.subject | Small enterprises | - |
dc.subject | Medium enterprises | - |
dc.subject | การพัฒนากำลังคน | - |
dc.subject | Manpower development | - |
dc.title | สํารวจความต้องการของสถานประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในจังหวัดสมุทรปราการด้านการศึกษาและฝึกอบรม | th |
dc.title.alternative | Survey of Education and Training Needs of the Small and Medium Enterprises (SME) in Samut Prakran Province | th |
dc.type | Article | th |
Appears in Collections: | Business Administration - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
SME-Training.pdf | 91.45 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.