Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2115
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | วาสนา ศิลางาม | - |
dc.contributor.author | Wasana Silangam | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing | th |
dc.date.accessioned | 2024-05-03T14:01:34Z | - |
dc.date.available | 2024-05-03T14:01:34Z | - |
dc.date.issued | 2018 | - |
dc.identifier.citation | วารสาร มฉก. วิชาการ 22, 43-44 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2561) : 193-204 | th |
dc.identifier.issn | 0859-9343 (Print) | - |
dc.identifier.issn | 2651-1398 (Online) | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2115 | - |
dc.description | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/159325/117333 | th |
dc.description.abstract | บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุ อาการ ผลกระทบของการเสพติดสมาร์ทโฟน และแนวทางการแก้ไข การเสพติดสมาร์ทโฟนมีสาเหตุสําคัญอยู่ 5 ปัจจัย คือ การแสดงออกถึงตัวตน อิทธิพลทางสังคม อัตราการใช้งาน ความหลากหลายในการใช้งาน และความพึงพอใจตนเอง อาการโดยทั่วไปของการติดสมาร์ทโฟน ได้แก่ วิตกกังวล กระวนกระวายใจเมื่อหาสมาร์ทโฟนไม่เจอ พกสมาร์ทโฟนติดตัวตลอดเวลา กลัวสมาร์ทโฟนหาย หมกมุ่นอยู่กับการดูสื่อสังคมออนไลน์ ใช้โปรแกรมต่างๆ แทนการพูดคุย มีการใช้สมาร์ทโฟนในทุกๆ ที่ อาการเสพติดสมาร์ทโฟนขั้นรุนแรง ได้แก่ กลัวการตกกระแส หยิบโทรศัพท์ขึ้นมาดูทันทีเมื่อได้ยินเสียง ไม่สนใจคนรอบข้าง รู้สึกไปเองว่าโทรศัพท์สั่นตลอดเวลา ขาดโทรศัพท์เหมือนจะอยู่ไม่ได้ การเสพติดสมาร์ทโฟนส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ใช้และเสี่ยงต่อการเป็นโรคต่างๆ ได้แก่ ตาแห้ง นอนไม่หลับ นิ้วล็อค โรคอ้วน โรคซึมเศร้า แนวทางการแก้ปัญหาการติดสมาร์ทโฟนก็คือ ยอมรับว่าตัวเองติดสมาร์ทโฟน และทําการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของตนเอง เช่น การลดระยะเวลาใช้งานสมาร์ทโฟนลง ดังนั้น ผู้ใช้สมาร์ทโฟนจึงควรสํารวจตนเองว่ามีอาการเสพติดสมาร์ทโฟนหรือไม่ เพื่อป้องกันการเสพติดสมาร์ทโฟนและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นตามมา | th |
dc.description.abstract | This article aims to discuss causes, symptoms, effects of smartphone addiction and to offer solutions for this addiction. Smartphone addiction has five main factors, such as self-expression, social influence, usage rate, variety of use and self – gratification. General symptoms of the smartphone addiction are anxiety when the smartphone is not found, carrying the smartphone along all the time, fear that the smartphone will be lost, obsession with checking social media, using applications instead of talking and playing smartphones everywhere. Severe symptoms of the smartphone addiction are fear of missing out, pick up the phone immediately when the phone rings, ignore people around, phantom vibration syndrome, and no mobile phone phobia. Smartphone addiction has adverse health effects users and risk of other diseases, i.e. dry eyes, sleeplessness, trigger finger, obesity and depressive disorder. Solutions for smartphone addiction are accepting smartphone addiction and modify the behavior by reducing smartphone usage. Therefore, smartphone users should observe symptoms of smartphone addiction to protect themselves from its consequences. | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.subject | สมาร์ตโฟน | th |
dc.subject | Smartphones | th |
dc.subject | โรคติดสมาร์ตโฟน | th |
dc.subject | Nomophobia | th |
dc.subject | การเสพติดสมาร์ตโฟน | - |
dc.subject | Smartphone addiction | - |
dc.title | อันตรายของการเสพติดมาร์ทโฟน | th |
dc.title.alternative | Dangers of Smartphone Addiction | th |
dc.type | Article | th |
Appears in Collections: | Nursing - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Smartphone-Addiction.pdf | 77.53 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.