Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2116
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปิยะวัน วงษ์บุญหนัก | - |
dc.contributor.author | Piyawan Wongboonnak | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences | th |
dc.date.accessioned | 2024-05-03T14:17:38Z | - |
dc.date.available | 2024-05-03T14:17:38Z | - |
dc.date.issued | 2018 | - |
dc.identifier.citation | วารสาร มฉก. วิชาการ 22, 43-44 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2561) : 205-216 | th |
dc.identifier.issn | 0859-9343 (Print) | - |
dc.identifier.issn | 2651-1398 (Online) | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2116 | - |
dc.description | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/147157/117334 | th |
dc.description.abstract | ยาชื่อพ้องมองคล้ายเป็นปัญหาที่ก่อให้เกิดความคลาดเคลื่อนทางยา ซึ่งผูกโยงกับความปลอดภัย ในทุกขั้นตอนของการใช้ยาของผู้ป่วย ทั้งผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอก การรับยาจากร้านยาและในการเลือกใช้ยาด้วยตนเอง สําหรับประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุขจัดให้ยาชื่อพ้องมองคล้ายเป็นหนึ่งในสามของประเด็นความปลอดภัยด้านยา ตามประกาศในนโยบายด้านความปลอดภัยของผู้ป่วยระดับชาติ พ.ศ.2550-2551 แต่จนถึงปัจจุบัน การพัฒนาการศึกษาและการแก้ปัญหาส่วนใหญ่ยังจํากัดเฉพาะภายในโรงพยาบาล ในส่วนของการแก้ปัญหาเชิงระบบนั้น ประเทศไทยยังไม่มีความพร้อมในระบบและกลไกสนับสนุนสําคัญหลายอย่างเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาเชิงระบบ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรสนับสนุนให้มีการศึกษาปัญหายาชื่อพ้อง มองคล้ายในหลากหลายมิติมากขึ้น เพื่อกระตุ้นให้เกิดความตระหนักถึงความสําคัญของปัญหา ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดการเชิงนโยบายเพื่อผลักดันให้เกิดการแก้ปัญหาเชิงระบบเพื่อให้เกิดความปลอดภัย ในการใช้ยา | th |
dc.description.abstract | Look-alike sound-alike drug problems may cause medication errors that affect patient safety. Confusion may occur at every stage of the medication use process in inpatient, outpatient, drugstore and self-medication situations. Ministry of Public Health (Thailand) has established look-alike sound-alike drug problems as one of the three main issues for actions in medication safety, as announced in the National Patient Safety Goal 2007-2008. The development of problem solving and research is limited to the hospital level, other levels found lacking system and support mechanisms for look-alike sound- alike drug problems. A multidimensional study should be conducted that builds awareness of the importance of the problems and promote policy to drive systematic solutions to ensure medication safety. | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.subject | ยาชื่อพ้องมองคล้าย | th |
dc.subject | Look-alike sound-alike drugs | th |
dc.subject | ความคลาดเคลื่อนทางยา | th |
dc.subject | Medication errors | th |
dc.subject | ความปลอดภัยของผู้ป่วย | th |
dc.subject | Patient Safety | th |
dc.title | สถานการณ์ยาชื่อพ้องมองคล้ายในประเทศไทย | th |
dc.title.alternative | Look- alike Sound-alike Drugs Situation in Thailand | th |
dc.type | Article | th |
Appears in Collections: | Pharmaceutical Sciences - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Look-alike-sound-alike-drugs.pdf | 83.88 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.