Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2120
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เสาวลักษณ์ มีศิลป์ | - |
dc.contributor.author | เหวินเสี่ยวผิง | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะการแพทย์แผนจีน. | th |
dc.contributor.other | Shanghai University of TCM | th |
dc.date.accessioned | 2024-05-03T15:12:05Z | - |
dc.date.available | 2024-05-03T15:12:05Z | - |
dc.date.issued | 2018 | - |
dc.identifier.citation | วารสาร มฉก. วิชาการ 22,43-44 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2561) : 143-152 | th |
dc.identifier.issn | 0859-9343 (Print) | - |
dc.identifier.issn | 2651-1398 (Online) | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2120 | - |
dc.description | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/161307/117316 | th |
dc.description.abstract | โรคใบหน้ากระตุกครึ่งซีก(hemifacial spasm; HFS) สามารถจําแนกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ทราบสาเหตุ (symptomatic hemifacial spasm) ซึ่งส่วนใหญ่สามารถรักษาได้ด้วยการผ่าตัด และกลุ่มที่ไม่ทราบสาเหตุ (idiopathic hemifacial spasm) ซึ่งพบว่า ยังคงเป็นปัญหาในทางคลินิก การรักษาในทางการแพทย์แผนปัจจุบันที่ได้รับความนิยมมากที่สุดคือ การฉีดกล้ามเนื้อใบหน้าด้วย โบทูลินุมทอกซิน (botulinum toxin) แต่ยังคงพบผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นจากการรักษา การรักษาทางการแพทย์แผนจีน มีความหลากหลายในด้านของรูปแบบการรักษา อาทิเช่น การฝังเข็ม การนวดทุยหนา และการใช้ยา สมุนไพรจีน ซึ่งจากผลการทดลองแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของการรักษาอย่างชัดเจน จนจัดเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่ให้ผลการรักษาเป็นที่น่าพอใจอย่างมาก บทความนี้จะได้กล่าวถึงมุมมองและแนวทางการรักษา ผู้ป่วย HFS ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนจีนและรวมถึงผลการวิจัยทางคลินิกในปัจจุบัน | th |
dc.description.abstract | Hemifacial spasm (HFS) can be divided into two groups: symptomatic hemifacial spasm, disease with known cause that can be treated with surgery; and idiopathic hemifacial spasm. The cause of which is unknown and remains a problem in clinical practice. Botulinum toxin injection has been the most effective treatment option, but there are still side effects caused by this treatment. Traditional Chinese Medicine (TCM) has a variety of treatment options such as acupuncture, Tui na (Chinese massage), and Chinese herbal medicine. There is a lot of clinical evidence that clearly demonstrated its effectiveness, and at present TCM has become one of the best options for HFS treatment. This article will review the Traditional Chinese Medicine treatment options for HFS and its clinical researches | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.subject | การแพทย์แผนจีน | th |
dc.subject | raditional medicine -- China | th |
dc.subject | โรคใบหน้ากระตุกครึ่งซีก | th |
dc.subject | Hemifacial spasm | th |
dc.subject | ใบหน้า -- การเคลื่อนไหวผิดปกติ | th |
dc.subject | ใบหน้า, การกระตุก | th |
dc.title | โรคใบหน้ากระตุกครึ่งซีกในมุมมองแพทย์แผนจีน | th |
dc.title.alternative | Hemifacial Spasm Treatment and Its Perception in Traditional Chinese Medicine | th |
dc.type | Article | th |
Appears in Collections: | Chinese Medicine - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Hemifacial-spasm.pdf | 88.51 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.