Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2129
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorบงกช เดชมิตร-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะศิลปศาสตร์th
dc.date.accessioned2024-05-04T09:24:32Z-
dc.date.available2024-05-04T09:24:32Z-
dc.date.issued2020-
dc.identifier.citationวารสาร ธุรกิจปริทัศน์ 12,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563) : 199-210th
dc.identifier.issn1905-713X (Print)-
dc.identifier.issn2651-2351 (Online)-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2129-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bahcuojs/article/view/217396/166056th
dc.description.abstractบทความนี้เป็นบทความวิชาการ มีจุดมุ่งหมายเพื่อสังเคราะห์โอกาสและข้อจำกัดของการท่องเที่ยวเชิงศาสนา (วัด) ในยุคไทยแลนด์ 4.0 เพื่อนำมาพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงศาสนาให้สอดคล้องกับความต้องการของนักท่องเที่ยวในยุคไทยแลนด์ 4.0 และสอดรับกับเอกลักษณ์ความเป็นไทยที่โดดเด่นและมีคุณภาพระดับโลก จากการสังเคราะห์พบว่า การพัฒนาควรมุ่งเน้นดังนี้ 1) ควรจะต้องมีการจัดทำมาตรฐานของวัดสำหรับการท่องเที่ยวเชิงศาสนา 2) จัดทำคู่มือรวมการท่องเที่ยววัดเชื่อมโยงภายในจังหวัดเดียวกันเลือกวัดที่มีความสำคัญ มีอัตลักษณ์และโดดเด่น 3) วัดจำเป็นต้องมีการพัฒนาปรับเปลี่ยนตัวเองให้ทุกมิติ เพื่อสร้างโอกาสในการเข้าถึงและเป็นที่รู้จัก 4) รัฐบาลและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องตลอดจนภาคีเครือข่ายควรให้ความสำคัญในการลงทุนพัฒนาส่งเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่และระบบโครงสร้างพื้นฐาน 5) ภาครัฐบาลและภาคเอกชนควรร่วมมือกันสร้างสรรค์การท่องเที่ยวเชิงศาสนาให้เชื่อมโยงอย่างเป็นองค์รวม ซึ่งการชับเคลื่อนการท่องเที่ยวเชิงศาสนาด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมนั้น จะช่วยสร้างเม็ดเงินให้เพิ่มมากขึ้นและยังช่วยยกระดับจิตใจ ความรู้ และปัญญาth
dc.description.abstractThis article is an academic article aimed at synthesizing the opportunities and limitations of religious tourism (temple) in the Thailand 4.0 era in order to develop religious tourism in line with the needs of tourists in the Thailand 4.0 era and in accordance with The Unique, Thai identity and world-class quality. From the synthesis found that development should focus as follows:1) There should be standardization of temples for religious tourism. 2) Establish a guidebook for temples related to tourism in each province. Choose temples that are important and outstanding. 3) Temples need to create opportunities for more access and make it known widely. 4) The government to focus on the using of IT to promote infrastructure, facilities, facilities, safety and utilities.5) Government and private sectors should cooperate to create religious tourism. To have a sustainable and holistic connection to maintaining good health and quality of life both physically and mentally. Driving the religious tourism with technology, creativity, and innovation will help generate more money and will also enhance the mind, knowledge and wisdom.th
dc.language.isothth
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงศาสนาth
dc.subjectวัดกับการท่องเที่ยวth
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมth
dc.subjectHeritage tourismth
dc.titleโอกาสและข้อจำกัดของการท่องเที่ยวเชิงศาสนา (วัด) ในยุคไทยแลนด์ 4.0th
dc.title.alternativeOpportunities and Limitations of Religion Tourism (Temple) in Thailand 4.0 erath
dc.typeArticleth
Appears in Collections:Liberal Arts - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Heriatge-Tourism.pdf74.64 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.