Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/213
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสภา อ่อนโอภาส-
dc.contributor.advisorSopa Onopas-
dc.contributor.authorอัครพรรณ ขวัญชื่น-
dc.contributor.authorAkaraphan Khwunchuen-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare-
dc.date.accessioned2022-05-04T03:38:04Z-
dc.date.available2022-05-04T03:38:04Z-
dc.date.issued2001-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/213-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สส.ม.) (การจัดการโครงการสวัสดิการสังคม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2544th
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเชิงทดลอง เรื่อง “ผลการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มที่มีต่อการเห็นคุณค่าในตนเองของผู้ต้องขังในเรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลจากการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการเห็นคุณค่าในตนเองของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยมีกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 18 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองซึ่งได้เข้าร่วมการให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม จำนวน 8 คน และกลุ่มควบคุมซึ่งไม่ได้รับการให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม จำนวน 10 คน ผลการวิจัยโดยวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ กลุ่มทดลองมีการเห็นคุณค่าในตนเองโดยภาพรวม และเมื่อจำแนกรายด้าน ได้แก่ ด้านตนเองโดยทั่วไป ด้านสังคม ด้านครอบครัว สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติซึ่งสอดคล้องกับการวิเคราะห์ข้อมูลจากบันทึกประชุมกลุ่ม พบว่าสมาชิกโดยส่วนใหญ่มีการเห็นคุณค่าในตนเองสูงขึ้น โดยสมาชิกสามารถบอกถึงข้อดีของตนเอง มีความกระตือรือร้นและแสดงออกถึงความต้องการที่จะรับผิดชอบต่อตนเองและครอบครัวอย่างแท้จริง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรู้จักวางเป้าหมายอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง แต่เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม พบว่าการเห็นคุณค่าในตนเองโดยภาพรวม และการเห็นคุณค่าในตนเองจำแนกรายด้าน 3 ด้าน คือ ด้านตนเอง โดยทั่วไป ด้านครอบครัว และด้านสังคม ของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีการเห็นคุณค่าในตนเองไม่แตกต่างกัน จากผลการศึกษา ผู้ศึกษามีข้อเสนอแนะว่าควรมีการจัดกลุ่มให้คำปรึกษาแก่ผู้ต้องขังโดยมีระยะเวลาจัดการให้คำปรึกษามากกว่านี้ ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบการจัดกลุ่มให้คำปรึกษาแบบเว้นระยะเพื่อให้ระดับการเห็นคุณค่าในตนเองคงที่ ควรมีการติดตามผู้ต้องขังที่ได้รับการเข้ากลุ่มให้คำปรึกษาเมื่อพ้นโทษออกไปแล้วเพื่อดูความเปลี่ยนแปลงและการเห็นคุณค่าในตนเองภายหลังพ้นโทษth
dc.description.abstract“An Experimental Study of Group Counseling on the Effect of Prisoners’ Self-Esteem at the Bangkok Remand Prison” has is objective to study the effect of group counseling to see if there is any changes in the experimental group and to compare between the experimental group and control group. The sample subject are prisoners from the Bangkok Remand Prison. The selection process utilizes the purposive sampling, the subject must be first time offender in the crime against stolen property and also must already be convicted and will be release by early 2001.The study was accomplished by asking the subject to complete a Self-Esteem Inventory and then 18 volunteered to join the study and the group is devided into two groups : 8 prisoners were selected for counseling (experimental groups) while the other 10 were not (control group). The analysis of the data was stores in a computer utilizing SPSS/PC program. The test was conducted to test different variations (one way ) and different level of self-esteem (comparing by points). Analizing the data via statistical method, include the observation, the group’s record, the opinion of the trial group found that the experimental group has more self-esteem. The members are able to see the value of their own self-esteem more energetic and would like to show more responsibility towards themselves and their family. But when compare with the control group, shown no differences between the two groups. From this research, the following is recommended for the next study : must continue to follow up in group counseling, periodically, until the prisoners are released so they will value their self-esteem on a continuous bases.th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectเรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานครth
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มth
dc.subjectนักโทษth
dc.subjectความนับถือตนเองth
dc.subjectSelf-esteemth
dc.subjectPrisonersth
dc.subjectGroup counselingth
dc.titleผลการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มที่มีต่อการเห็นคุณค่าในตนเองของผู้ต้องขังในเรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานครth
dc.title.alternativeAn Experimental Study of Group Counseling on the Effect of Prisoners' Self-Esteem at the Bangkok Remand Prisonth
dc.typeThesisth
dc.degree.nameสังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineการจัดการโครงการสวัสดิการสังคมth
Appears in Collections:Social Work and Social Welfare - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
abstract.pdf281.13 kBAdobe PDFView/Open
tableofcontents.pdf271.57 kBAdobe PDFView/Open
chapter1.pdf393.5 kBAdobe PDFView/Open
chapter2.pdf2.65 MBAdobe PDFView/Open
chapter3.pdf364.75 kBAdobe PDFView/Open
chapter4.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open
chapter5.pdf708.92 kBAdobe PDFView/Open
references.pdf344.08 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.