Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2144
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปัณณทัต บนขุนทด | - |
dc.contributor.author | กัลยา มั่นล้วน | - |
dc.contributor.author | Punnathut Bonkhunthod | - |
dc.contributor.author | Kanlaya Munluan | - |
dc.contributor.other | Western University, Buriram Campus. Faculty of Nursing | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing | th |
dc.date.accessioned | 2024-05-05T04:23:53Z | - |
dc.date.available | 2024-05-05T04:23:53Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.citation | วารสารการพยาบาลและสุขภาพ สสอท. 4,1 (มกราคม-เมษายน 2565), e27723 : 1-15 | th |
dc.identifier.issn | 2697-4622 (Online) | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2144 | - |
dc.description | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://rsujournals.rsu.ac.th/index.php/ajnh/article/view/2723/2127 | th |
dc.description.abstract | ภาวะการคิดรู้บกพร่องเล็กน้อย เป็นความผิดปกติที่อยู่ระหว่างภาวะสมองเสื่อมกับการหลงลืมตามปกติของผู้สูงอายุ เกิดจากภาวะถดถอยในการทำงานของสมองจากการสูญเสียเซลล์ประสาท โดยเริ่มจากส่วนใดส่วนหนึ่งแล้วจึงลุกลามไปยังสมองส่วนอื่นๆ ความเสื่อมถอยนี้จะดำเนินไปอย่างช้าๆ แบบค่อยเป็นค่อยไปซึ่งอาจใช้เวลานานหลายปี ความผิดปกติจะปรากฏจนสังเกตได้เมื่อเซลล์ประสาทในสมองที่มีบทบาทสำคัญในการจดจำข้อมูลต่างๆ ถูกทำลายลง อาการสำคัญของผู้ที่มีภาวะการร้คิดบกพร่องเล็กน้อยจึงเป็นอาการที่เกี่ยวช้องกับความจำ นำมาสู่ภาวะสมองเสื่อมจนส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน การรักษาภาวะการรับรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยมีทั้งวิธีการใช้ยา และวิธีการที่ไม่ใช้ยา ซึ่งการรักษาที่ไม่ใช้ยามีหลายวิธี เช่น การฝึกจำ การฝึกการรู้คิด การบำบัดด้วยกิจกรรม วิธีเหล่านี้เป็นวิธีหนึ่งที่นำมาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการทางสมอง ช่วยสร้างความสมดุลให้กับสมอง และช่วยกระตุ้นการเชื่อมโยงของเซลล์ประสาท จึงเป็นการชะลอหรือป้องกันไม่ให้เกิดโรคสมองเสื่อมได้ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับการกระตุ้นการรู้คิดในผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย แนวคิดการรู้คิดบกพร่องและการบำบัดเพื่อพัฒนาศักยภาพสมอง การบำบัดรักษาผู้ที่มีการรู้คิดบกพร่องด้วยกระตุ้นการรู้คิดเป็นทางเลือกหนึ่งของการรักษาด้วยการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ใช้กระบวนการประมวลผลข้อมูลมากกว่าความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง เพื่อช่วยในด้านความจำ การรับรู้ การตัดสินใจ และการคิดเชิงบริหาร ส่งผลให้ชะลอการดำเนินไปเป็นโรคสมองเสื่อมและดำรงไว้ซึ่งคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.subject | ภาวะสมองเสื่อม | th |
dc.subject | Dementia | th |
dc.subject | ผู้สูงอายุ | th |
dc.subject | Older people | th |
dc.subject | ความผิดปกติเล็กน้อยของความสามารถของสมอง | th |
dc.subject | Mild cognitive impairment | th |
dc.subject | การรู้คิดผิดปกติ | th |
dc.subject | Cognition disorders | th |
dc.subject | การรู้คิดผิดปกติ -- ผู้ป่วย -- การฟื้นฟูสมรรถภาพ | th |
dc.subject | Cognition disorders -- Patients -- Rehabilitation | th |
dc.subject | ความจำผิดปกติ | th |
dc.subject | Memory disorders | th |
dc.title | ภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย: ก่อนป่วยด้วยสมองเสื่อม | th |
dc.title.alternative | Mild Cognitive Impairment : Before getting sick with Dementia | th |
dc.type | Article | th |
Appears in Collections: | Nursing - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Dementia.pdf | 79.1 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.