Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2169
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวริยา ล้ำเลิศ-
dc.contributor.authorดวงทิพย์ บุญปลูก-
dc.contributor.authorไกลกังวล บุญปลูก-
dc.contributor.authorธนาชัย สุนทรอนันตชัย-
dc.contributor.authorพีรพล เจตโรจนานนท์-
dc.contributor.authorภัทรพร เย็นบุตร-
dc.contributor.authorWariya Lamlert-
dc.contributor.authorDuangthip Boonplook-
dc.contributor.authorKlaikangwon Boonplook-
dc.contributor.authorThanachai Suntonanantachai-
dc.contributor.authorPeerapon Jaderojananont-
dc.contributor.authorPattaraporn Yenbutra-
dc.contributor.otherNational Institute of Development Administration. Graduate School of Lawth
dc.contributor.otherThe Supreme administrative Courtth
dc.contributor.otherThe Supreme administrative Courtth
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Lawth
dc.contributor.otherThammasat University. Faculty of Law. Independent Researcher and PhD Candidateth
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Lawth
dc.date.accessioned2024-05-07T04:45:48Z-
dc.date.available2024-05-07T04:45:48Z-
dc.date.issued2016-
dc.identifier.citationวารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 9, 1 (มกราคม–มิถุนายน 2559) : 157-181th
dc.identifier.issn2985-2064 (Print)-
dc.identifier.issn2985-2072 (Online)-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2169-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so04.tci-thaijo.org/index.php/lawnujournal/article/view/98706/pdf_35th
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์กฎหมายจัดตั้ง แนวนโยบายภาครัฐ โครงสร้างการบริหารงาน และอำนาจหน้าที่ขององค์กรภาครัฐในต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) โดยเปรียบเทียบกับของประเทศไทย เพื่อให้สอดคล้องกับผลกระทบของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อ SMEs ไทย ที่ต้องเสริมสร้างศักยภาพของธุรกิจตนให้เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจระหว่างประเทศสำหรับระเบียบวิธีวิจัยนั้นใช้วิธีผสมผสานทั้งการวิจัยข้อมูลเชิงเอกสารของประเทศไทยและของต่างประเทศ จำนวน 5 ประเทศ คือ ประเทศญี่ปุ่น สาธารณรัฐสิงคโปร์ สาธารณรัฐเกาหลีใต้ สาธารณรัฐฝรั่งเศส และประเทศออสเตรเลีย ตลอดจนการวิจัยภาคสนาม ทั้งการวิจัยเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ได้แก่ แบบสอบถาม สัมภาษณ์เชิงลึก และการประชุมระดมความคิดเห็น จากผลการศึกษาวิจัย คณะผู้วิจัยพบว่าการกําาหนดนิยามความเป็นมาและหลักการสำคัญ ขอบเขตลักษณะโครงสร้างองค์กร โครงสร้างการบริหาร และอำนาจหน้าที่ขององค์กร งบประมาณและการสนับสนุนจากภาครัฐ รูปแบบการส่งเสริมและสนับสนุน SMEs และการดำเนินการที่ประสบผลสำเร็จของประเทศที่ศึกษาสามารถนําามาเปรียบเทียบเพื่อเป็นแนวทางในการปรับโครงสร้างองค์กรและอำนาจหน้าที่ หน่วยงานกำกับดูแลการทำงานด้านการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม การจัดให้มีเครือข่ายในส่วนภูมิภาคเพื่อส่งเสริม SMEs การเพิ่มมาตรการติดตามตรวจสอบการส่งเสริมและสนับสนุน SMEs และการให้ความช่วยเหลือด้านการเงินแก่ SMEs อย่างมีประสิทธิภาพด้วยวิธีการที่หลากหลายและเป็นประโยชน์ต่อ SMEs อย่างแท้จริงth
dc.description.abstractThe core theme of this research aims to explore and discuss the establishment of public organization promoting Small and Medium Enterprises (SMEs) in selected foreign countries: Japan, Singapore, Republic of Korea, France, and Australia, through the analysis of those legal and policy mechanisms, institutional arrangements, and public functions in order to take the research’s outcome into comparative study with Thailand’s practice and also to determine the opportunities of Thailand’s SMEs in ASEAN approach. In terms of the methodology, the documentary and empirical research, including quantitative survey, in-depth interview and public hearing, are to be jointly taken into this account. As a result of this research, it is clearly found that there are the following points: the definition, background and rationale, scope of administrative structure, organization’s functions, budget, public assistances, the means of SME encouragement, and successful practices, which can be analogically studied along with Thailand’s in order to rearrange the institutional structure of the related the public entity promoting SMEs in Thailand. Moreover, this research also recommends that provincial network should be re-established to powerfully serve the SMEs growth and the role of mitigation must be closely paid attention. Finally, the entity should practically provide various financial assistance that renders them more helpfulth
dc.language.isothth
dc.subjectวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมth
dc.subjectSmall and Medium Enterprisesth
dc.subjectสํานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมth
dc.subjectOffice of Small and Medium Enterprise Promotionth
dc.subjectกฎหมายจัดตั้งองค์กรth
dc.subjectLaw on Establishment of Organizationth
dc.titleการศึกษาวิจัยกฎหมายจัดตั้งองค์กรภาครัฐที่ทำหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุน SMEs ของประเทศไทย เปรียบเทียบกับต่างประเทศth
dc.title.alternativeLegal Study on the Establishment of Public Organization Promoting Small and Medium Enterprises (SMEs) in Thailand: Possible Lessons from Foreign Countriesth
dc.typeArticleth
Appears in Collections:Law - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SMEs-Law.pdf93.87 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.