Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2200
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนริศ วศินานนท์-
dc.contributor.authorสุกัญญา วศินานนนท์-
dc.contributor.authorNaris Wasinanon-
dc.contributor.authorSukanya Wasinanon-
dc.contributor.author何福祥-
dc.contributor.author黄如侬-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studiesen
dc.contributor.otherIndependent Scholaren
dc.date.accessioned2024-05-10T08:43:37Z-
dc.date.available2024-05-10T08:43:37Z-
dc.date.issued2017-
dc.identifier.citationวารสารวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 7, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2560) : 94-104en
dc.identifier.issn2730-4167 (Online)-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2200-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jis/article/view/113542/88261en
dc.description.abstractบทความนี้เป็นการวิเคราะห์รูปแบบคำย่อสองพยางค์ในภาษาจีนปัจจุบัน ซึ่งย่อมาจากคำเดิม 4 พยางค์ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบโครงสร้างของคำศัพท์ (วลี) เดิมและโครงสร้างของคำย่อสองพยางค์ การเรียงลำดับของคำในคำศัพท์ (วลี) เดิมและคำย่อสองพยางค์ ลักษณะเด่นของคำศัพท์ที่ย่อเป็นคำย่อสองพยางค์ ทำให้เข้าใจที่มาของคำย่อสองพยางค์และสามารถใช้ได้ดียิ่งขึ้น อันจะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนภาษาจีน ผลการวิเคราะห์พบว่าคำย่อสองพยางค์ซึ่งมีที่มาจากคำศัพท์ (วลี) เดิม 4 พยางค์ส่วนใหญ่เป็นการนำพยางค์ใดพยางค์หนึ่งของคำมูล 2 คำ มาสมาสรวมกันเป็นคำ 2 พยางค์ ความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของคำศัพท์ (วลี) เดิม 4 พยางค์นั้นมีโครงสร้าง 3 ลักษณะ คือโครงสร้างวลีที่มีความสัมพันธ์แบบคู่ขนาน โครงสร้างวลีแบบส่วนหลักและส่วนขยาย และโครงสร้างวลีแบบกริยาและกรรม ซึ่งในการสมาสรวมเป็นคำย่อสองพยางค์จะเลือกพยางค์ใดพยางค์หนึ่งของคำมูลมาสมาสกับอีกพยางค์หนึ่งของคำมูลคำหลังกลายเป็นคำย่อสองพยางค์ ลำดับการเรียงคำของคำย่อสองพยางค์ซึ่งมาจากคำศัพท์ (วลี) เดิม 4 พยางค์นั้น ส่วนใหญ่เรียงเหมือนเดิม โดยมีทั้งหมด 8 แบบ คือ 1. แบบ AC 2. แบบ AD 3. แบบ BD 4. แบบ BC 5. แบบ AB/CD 6. แบบ CA 7. แบบ CB และ 8. แบบ DA แต่มี 3 แบบคือ แบบ CA CB และDA เท่านั้นที่เรียงย้อนลำดับกัน ซึ่งลักษณะการเรียงลำดับของคำย่อแบบนี้มีจำนวนน้อยมาก คำย่อสองพยางค์ที่ประกอบจากคำศัพท์เดิม 4 พยางค์นั้นมาจากการเลือกพยางค์พยางค์หนึ่งของคำมูล 2 คำโดยคำนึงถึงพยางค์หรือหน่วยคำที่สามารถสื่อนัยสำคัญของคำมูลนั้นๆ และเมื่อสมาสรวมกันเป็นคำย่อสองพยางค์แล้วสามารถแทนนัยของคำศัพท์ (วลี) เดิมได้en
dc.description.abstractThis article analyzes how the forms of four-syllable word evolue into two syllables in Chinese today. The purpose of the study is to study the structure of the original phrase, the relationship between the arrangements and patterns of two-syllable word as well as the features of two-syllable words. It benefits Chinese teaching to understand the origin and use of two-syllable words better. The analysis finds that there are three kinds of structures of two syllable words that originate from four syllables, 1) Combination 2) Subbordination 3) V-N There are eight forms of arrangement of two-syllables and the original words or phrases, they are 1. AC 2. AD 3. BD 4. BC 5. AB/CD 6. CA 7. CB and 8. DA. These eight forms are almost the same with the exception of the opposite, CA, CB, DA phrases which is rather rare. Two-syllable acronyms originating from the four-syllable words consist of two words that both can represent the whole meaning.en
dc.language.isothen
dc.subjectภาษาจีน -- การใช้ภาษาen
dc.subjectChinese language -- Usageen
dc.subjectภาษาจีน -- พยางค์en
dc.subjectChinese language -- Syllabicationen
dc.titleวิเคราะห์รูปแบบคำย่อจาก 4 พยางค์เป็น 2 พยางค์ ในภาษาจีนปัจจุบันen
dc.title.alternativeAnalysis the forms of four-syllable word evolue into two syllables in Chineseen
dc.typeArticleen
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chinese-language-Syllabication.pdf116.84 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.