Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2208
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนพนัฐ จำปาเทศ-
dc.contributor.authorละเอียด แจ่มจันทร์-
dc.contributor.authorพัชราภรณ์ ฝ่ายหมื่นไวย์-
dc.contributor.authorNopphanath Chumpathat-
dc.contributor.authorLaiad Jamjan-
dc.contributor.authorPatcharaporn Faimuenwai-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingen
dc.contributor.otherSaint Louis College. Faculty of Nursingen
dc.contributor.otherRangsit University. School of Nursingen
dc.date.accessioned2024-05-10T11:37:04Z-
dc.date.available2024-05-10T11:37:04Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.citationวารสาร มฉก.วิชาการ 21, 42 (ม.ค.-มิ.ย. 2561) : 153-164en
dc.identifier.issn0859-9343 (Print)-
dc.identifier.issn2651-1398 (Online)-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2208-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/146787/108183en
dc.description.abstractโรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่พบมากในผู้สูงอายุ นอกจากปัจจัยทางพันธุกรรมแล้วอายุที่เพิ่มขึ้น เป็นปัจจัยสำคัญของการเกิดโรคเบาหวานในผู้สูงอายุด้วย กลไกการเกิดโรคเบาหวานในผู้สูงอายุมีลักษณะ เฉพาะที่ต้องการการจัดการดูแล เช่น การวินิจฉัยล่าช้าหรือผิดพลาดจากการไม่พบอาการเฉพาะที่ช่วยใน การวินิจฉัย (classic symptom) รวมทั้งมีภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายถึงชีวิต ตลอดจนการจัดการดูแล ที่มีเป้าหมายการรักษาที่มีลักษณะแตกต่างไปจากกลุ่มอายุอื่นๆ เป้าหมายสำคัญของการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานที่เป็นผู้สูงอายุมุ่งเน้นที่การปรับเปลี่ยน พฤติกรรมและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นเพื่อนำมาซึ่งคุณภาพชีวิตที่ดีมีชีวิตที่ยืนยาว การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตนเองในการดูแลจัดการกับกลุ่มผู้สูงอายุโรคเบาหวาน โดยมุ่งเน้นการส่งเสริมผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานรับรู้ว่าตนเองมีความสามารถในการเลือก หรือกำหนด กิจกรรมหรือพฤติกรรมใด ๆ ที่ส่งผลต่อการเกิดผลลัพธ์ทางสุขภาพ เช่น การรักษาระดับน้ำตาลในเลือดได้ ตามเป้าหมาย และป้องกันภาวะแทรกซ้อน ซึ่งถือว่าเป็นกระบวนการทางการดูแลที่ช่วยสร้างและส่งเสริม ความสามารถของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเบาหวานได้อย่างยั่งยืนและมีประสิทธิภาพen
dc.description.abstractDiabetes is a chronic disease that is becoming more common, especially among the elderly. In addition to genetic factors, increasing age was a significant factor in the incidence of diabetes. Development of diabetes among elderly is common, as it is in any other age group, but it has unique characteristics that require specific care for the elderly, to delayed diagnosis or misdiagnosis due to the lack of classic symptoms, and due to complications that can be fatal care management is different from other age groups with the goal of preserving. The goal of care for elderly patients is to bring a better quality of life with focus on behavioral modification and prevention of complications. The application of selfefficacy theory in managing the health care of the elderly with diabetes aims to encourage older people with diabetes to know that they have the ability to choose the activities or behavior, that may affect their health outcomes, such as maintaining blood sugar levels effectively and preventing complications.en
dc.language.isothen
dc.subjectเบาหวานในวัยผู้สูงอายุen
dc.subjectDiabetes in old ageen
dc.subjectการดูแลสุขภาพด้วยตนเองen
dc.subjectSelf-care, Healthen
dc.subjectความสามารถในตนเองในวัยสูงอายุen
dc.subjectSelf-efficacy in old ageen
dc.titleบทบาทพยาบาลในการประยุกต์ใช้ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตนเองในผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานen
dc.title.alternativeThe Nurse’s Role for Apply Self-Efficacy Theory in the Elderly Diabeticen
dc.typeArticleen
Appears in Collections:Nursing - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Elderly-Diabetic.pdf150.67 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.