Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2215
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปิยรัตน์ สมันตรัฐ-
dc.contributor.authorรัชดา พ่วงประสงค์-
dc.contributor.authorนพนัฐ จำปาเทศ-
dc.contributor.authorอรอนงค์ บัวลา-
dc.contributor.authorอรษา ศิริ-
dc.contributor.authorPiyarat Samantarath-
dc.contributor.authorRachada Phuangprasonka-
dc.contributor.authorNopphanath Chumpathat-
dc.contributor.authorOnanong Buala-
dc.contributor.authorOrasa Siri-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingen
dc.contributor.otherWangchan Hospitalen
dc.date.accessioned2024-05-11T06:33:00Z-
dc.date.available2024-05-11T06:33:00Z-
dc.date.issued2024-
dc.identifier.citationวารสารพยาบาลศาสตร์ 42, 1 (มกราคม-มีนาคม 2567) : 69-83.en
dc.identifier.issn0125-8885 (Print)-
dc.identifier.issn2651-1959 (Online)-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2215-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/262802/182369en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอำนาจทำนายของอายุ การคงอยู่ในระบบการศึกษา น้ำหนักแรกเกิดของทารก การรับรู้การสนับสนุนทางสังคม และความเครียดระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด ต่อความสำเร็จในการดำรงบทบาทมารดาของวัยรุ่น รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ มารดาวัยรุ่นหลังคลอดบุตรคนแรก จำนวน 100 คน นำบุตรที่มีอายุแรกเกิดถึง 1 ปี มารับบริการในคลินิกเด็กดีที่โรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลใน 4 จังหวัด ได้แก่ ชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามสำหรับมารดาวัยรุ่นหลังคลอด ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของมารดา ส่วนที่ 2 แบบวัดความเครียดระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด ส่วนที่ 3 การรับรู้การสนับสนุนทางสังคม และส่วนที่ 4 แบบสอบถามความสำเร็จในการดำรงบทบาทมารดา ส่วนที่ 4 ข้อมูลด้านบุตร วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุคูณด้วยวิธีการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัย:มารดาวัยรุ่นมีคะแนนความสำเร็จในการดำรงบทบาทมารดาเท่ากับ 100.82 จากคะแนนเต็ม 115 คะแนน (SD =11.07) การคงอยู่ในระบบการศึกษา (β= .26,p =.003) การรับรู้การสนับสนุนทางสังคม (β= .36,p< .001) ความเครียดระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด (β= -.23,p= .011) น้ำหนักแรกเกิดของทารก (β= .25,p= .004) และอายุ (β= .19,p= .038) สามารถท้านายความส้าเร็จในการด้ารงบทบาทมารดาของมารดาวัยรุ่นภาคตะวันออกได้อย่างมีนัยส้าคัญ โดยทุกปัจจัยสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 33 (Adj R2= .33) สรุปและข้อเสนอแนะ: มารดาที่อายุน้อย ออกจากระบบการศึกษา น้ำหนักแรกเกิดของทารกน้อยกว่าหรือมากกว่าเกณฑ์ ขาดการสนับสนุนทางสังคม และมีความเครียดระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด ถือเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อความสำเร็จในการดำรงบทบาทมารดาของมารดาวัยรุ่น บุคลากรด้านสุขภาพที่ดูแลมารดากลุ่มนี้ ควรประเมินปัจจัยเสี่ยงดังกล่าว เพื่อที่จะให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนให้วัยรุ่นกลุ่มนี มีความมั่นใจในการทำบทบาทมารดา และสามารถค้นพบการทำบทบาทมารดาที่เหมาะสมกับตนเองได้en
dc.description.abstractPurpose: This research aimed to investigate the predictability of age, persistence in education system, infant birthweight, perceived social support, and pregnancy-and childbearing-related stress on maternal role attainment among adolescent mothers in Eastern of Thailand. Design: Predictive study. Methods: Participants were100 first-time adolescent mothers who visited well baby clinic at community hospitals and sub-district health promoting hospitals in four provinces including Chonburi, Rayong, Chanthaburi, and Trad. Self-report questionnaires were used to collect the data: 1) demographic data 2) pregnancy-and childbearing-related stress and perceived social support questionnaire 3) Maternal Role Attainment Scale -Form B and 4)infant data. Data were analyzed using stepwise method of multiple regression analysis. Main findings: An average score of maternal role attainment reported by adolescent mothers was 100.82 out of 115 (SD= 11.07). Persistence in education system (β= .26, p =.003), perceived social support (β= .36, p<.001), pregnancy-and childbearing-related stress (β= -.23, p= .011), infant birthweight (β= .25, p= .004), and age (β= .19, p= .038)could significantly predict maternal role attainment; and all factors could account for 33%of the variances explained in maternal role attainment. Conclusions and recommendations: Young mother, leaving education system, low or large birthweight infant, lack of social support, perceived pregnancy-or childbearing-related stress are considered as risk factors to the failure of adolescent’s maternal role attainment. Health professionals taking care of this group of mothers should assess such risk factors and then help and support them be confident in performing maternal role that suit to themselves.en
dc.language.isothen
dc.subjectมารดาวัยรุ่นen
dc.subjectTeenage mothersen
dc.subjectการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นen
dc.subjectTeenage pregnancyen
dc.subjectการสนับสนุนทางสังคมen
dc.subjectSocial supporten
dc.subjectความเครียด (จิตวิทยา)en
dc.subjectStress (Psychology)en
dc.titleปัจจัยทำนายความสำเร็จในการดำรงบทบาทมารดาของมารดาวัยรุ่นภาคตะวันออกen
dc.title.alternativePredictors of Maternal Role Attainment among Adolescent Mothers in Eastern of Thailanden
dc.typeArticleen
Appears in Collections:Nursing - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Teenage-mothers.pdf81.05 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.