Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2220
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศิริพร ชุนฉาย-
dc.contributor.authorนพนัฐ จําปาเทศ-
dc.contributor.authorกมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม-
dc.contributor.authorรัชนี นามจันทรา-
dc.contributor.authorอภิรัตน์ อําภามณี-
dc.contributor.authorSiriporn Chunchai-
dc.contributor.authorNopphanath Chumpathat-
dc.contributor.authorKamonthip Khungtumneum-
dc.contributor.authorRachanee Namjuntra-
dc.contributor.authorApirat Amphamani-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Master of Nursing Scienceen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingen
dc.contributor.otherRangsit University. School of Nursingen
dc.contributor.otherBang Chalong Sub-district Health Promoting Hospitalen
dc.date.accessioned2024-05-11T11:16:38Z-
dc.date.available2024-05-11T11:16:38Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.citationวารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล 38,2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2565) : 235-245en
dc.identifier.issn2697-5041 (Online)-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2220-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he01.tci-thaijo.org/index.php/bcnbangkok/article/view/249087/174285en
dc.description.abstractบทนํา: ผู้ป่วยโรคเบาหวานร่วมกับโรคความดันโลหิตสูง มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนโดยเฉพาะการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด แนวทางหนึ่งที่สําาคัญ คือ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส. เหมาะสมจะช่วยป้องกันความเสี่ยงจากภาวะแทรกซ้อน วัตถุประสงค์การวิจัย: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส. ในผู้ป่วยโรคเบาหวานร่วมกับโรคความดันโลหิตสูง อําาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ระเบียบวิธีวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง จําานวน 150 ราย ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster sampling) เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพตามพฤติกรรม 3อ.2ส. และพฤติกรรม 3อ.2ส. ของประชาชนที่มีอายุ 15 ปี ขึ้นไป ฉบับปรับปรุงปี พ.ศ. 2561 มีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ระหว่าง .723-.870 วิเคราะห์ข้อมูลสถิติเชิงพรรณนาและการทดสอบความสัมพันธ์ด้วยสถิติสหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน Spearman’s Rho correlation ผลการวิจัย: ความรอบรู้ด้านสุขภาพตามพฤติกรรม 3อ.2ส. โดยรวมส่วนใหญ่อยู่ในระดับดี ร้อยละ 56.0 และความรอบรู้ด้านสุขภาพรายด้านพบว่าความรู้ ความเข้าใจทางสุขภาพอยู่ในระดับถูกต้องที่สุด ร้อยละ 45.3 การเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพ การจัดการตนเอง การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ และการตัดสินใจเลือกปฏิบัติที่ถูกต้อง อยู่ในระดับดีมาก ร้อยละ 65.3, 51.3, 70.7 และ 78.0 ตามลําาดับ ส่วนการสื่อสารสุขภาพ อยู่ในระดับพอใช้ ร้อยละ 56.0 สําาหรับพฤติกรรมสุขภาพตาม 3อ.2ส. อยู่ในระดับดีมาก ร้อยละ 49.3 ความรอบรู้ด้านสุขภาพ 3อ.2ส. โดยรวม การเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพ การสื่อสารสุขภาพ ด้านการจัดการตนเอง และด้านการตัดสินใจเลือกปฏิบัติที่ถูกต้อง มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส. อย่างมีนัยสําาคัญทางสถิติ (r =.263, p = .001, r =.227, p = .005, r =.233, p = .004, r =.242, p = .003, r =.292, p < .001 ตามลําาดับ) ส่วนด้านความรู้ความเข้าใจทางสุขภาพ และการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส. อย่างไม่มีนัยสําาคัญทางสถิติ (r =.158, p = .054, r =-.060, p = .464 ตามลําาดับ)สรุปผล: ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนําาไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการดูแลหรือโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้ความรอบรู้ด้านสุขภาพ โดยเฉพาะด้านการเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพ การสื่อสารสุขภาพ การจัดการตนเอง และการตัดสินใจเลือกการปฏิบัติที่ถูกต้องข้อเสนอแนะ: บุคลากรด้านสุขภาพ ควรให้ผู้ป่วยเบาหวานร่วมกับความดันโลหิตสูง มีช่องทางหลากหลายในการเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพ การสื่อสารสุขภาพ การจัดการตนเอง และการตัดสินใจเลือกการปฏิบัติที่ถูกต้อง เพื่อให้มีความ รอบรู้ด้านสุขภาพอยู่ในระดับดีมาก เพื่อจะได้นําาไปสู่การมีพฤติกรรมที่ดีมากขึ้นen
dc.description.abstractIntroduction: Among patients with Diabetes and Hypertension, there are risks of complications, especially cardiovascular disease. One important approach to manage the risks is health literacy and health behavior 3E. 2S. which will help prevent the risk of complications. Research objectives: This correlational descriptive study aimed to investigate health literacy, and health behavior (3E. 2S.) among patients with diabetes and hypertension in Bang Phi district, Samut Prakan Province. Research methodology: A cluster sampling method was used to recruite 150 patients with diabetes and hypertension treated at Bang Chalong Sub-district Health Promoting Hospital, Bang Phi District, Samut Prakan Province. Instruments consisted of the Thai CV risk score program assessing cardiovascular risk, and the 3E.2S. health literacy, and healthy behaviors questionnaire with a reliability range of .72-.87. Data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, Spearman’s Rho correlation. Results: The overall 3E.2S. health literacy was at a good level (56% 3E.2S.). Regarding each skill of health literacy, it was found that cognition level was at the most accurate (45.3%). Accurate to information and health services, self-management, media literacy, decisions-making to take the right action skill were at a very good level (65.3%, 70.7%, and 78.0%, respectively), while health communication skill was at a fair level (56%). There were statistically significantly positive relationships between the overall 3E.2S. health literacy, access to information and health service, health communication, self-management, and decision-making to take the right action skill and the 3E.2S.health behavior (r =.263, p = .001; r =.227, p = .005; r =.233, p = .004; r =.242, p = .003; r =. 2 9 2, p< .001; respectively). Knowledge and understanding of health, and media literacy were not statistically significantly correlated to the 3E.2S.health behavior (r =.158, p = .054; r =-.060, p = .464; respectively). Conclusions: Results of this study can be used as preliminary data for developing implementation of health behavior modification programs or interventions to facilitate behavioral change using health literacy, particularly in access to information and health services, communication skills, self-management, and decision-making skills. Implications: Healthcare providers should help patients with diabetic and hypertension to have venues to health information and health services, health communication, self-management, and decision-making to take the right action leading to better health behavior.en
dc.language.isothen
dc.subjectความรอบรู้ทางสุขภาพen
dc.subjectHealth literacyen
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพen
dc.subjectHealth behavioren
dc.subjectผู้ป่วยเบาหวานen
dc.subjectDiabeticsen
dc.subjectความดันเลือดสูงen
dc.subjectHypertensionen
dc.titleความรอบรู้ด้านสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพตาม 3อ.2ส.ของผู้ป่วยโรคเบาหวานร่วมกับโรคความดันโลหิตสูงอําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการen
dc.title.alternativeHealth Literacy and Health Behavior 3E.2S. among Patients with Diabetes and Hypertension in Bang Phi District, Samut Prakan Provinceen
dc.typeArticleen
Appears in Collections:Nursing - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Health-Literacy.pdf91.5 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.