Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2253
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนิตย์ธิดา ภัทรธีรกุล-
dc.contributor.authorธีรวุฒิ พงษ์เศรษฐไพศาล-
dc.contributor.authorนิตยาวรรณ กุลณาวรรณ-
dc.contributor.authorNittida Pattarateerakul-
dc.contributor.authorTeerawut Pongsetpisan-
dc.contributor.authorNittayawan Kulnawan-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciencesen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciencesen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciencesen
dc.date.accessioned2024-05-16T05:54:33Z-
dc.date.available2024-05-16T05:54:33Z-
dc.date.issued2017-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2253-
dc.descriptionProceedings of the 5th National and International Conference on "Research to Serve Society", 26th May 2017 at Huachiew Chalermprakiet University, Bangphli District, Samutprakarn, Thailand. p. 651-662.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานและประเมินผลลัพธ์การบริบาลทางเภสัชกรรมสําหรับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ณ คลินิกเบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลบางบ่อ ประกอบไปด้วย 2 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 พัฒนากระบวนการปฏิบัติงานการบริบาลทางเภสัชกรรม ณ คลินิกผู้ป่วยนอก ขั้นตอนที่ 2 ประเมินผลลัพธ์ของการบริบาลทางเภสัชกรรมในผู้ป่วยโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 ในด้านความร่วมมือการใช้ยา ระดับน้ําตาลในเลือด อาการไม่พึงประสงค์จากยา ระดับความมั่นใจในความสามารถดูแลตนเองเพื่อควบคุมโรคเบาหวานในกลุ่มตัวอย่างที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และมีระดับน้ําตาลในเลือดตั้งแต่ 150 มิลลิกรัม/เดซิลิตรขึ้นไปในวันร่วมโครงการ จํานวนทั้งสิ้น 130 คน ผลจากการวิจัยการพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานการบริบาลทางเภสัชกรรมได้กําหนดให้ผู้ป่วยเบาหวานต้องพบเภสัชกรหลังจากแพทย์ตรวจร่างกายแล!ว เพื่อเภสัชกรจะได้ทบทวนปัญหาจากการใช้ยาอย่างเป็นระบบ ให้คําแนะนําพฤติกรรมสุขภาพ การป้องกันและแก้ไขปัญหาจากยา การร่วมมือในการใช้ยา ผลการประเมินมีรายละเอียดดังนี้ ผู้ป่วยจํานวน 130 ราย อายุเฉลี่ย 61.3 ปี (±12.5) เป็นเพศหญิงร้อยละ 68.5 เป็นโรคเบาหวานนานมากกว่า 6 เดือน คิดเป็นร้อยละ 95.4 เมื่อเปรียบเทียบผลก่อนได้รับบริการ (เดือน0) และเดือนที่ 2 ของการได!รับบริการหนึ่งครั้ง พบว่าความร่วมมือในการใช้ยา (drug adherence) เพิ่มขึ้นร้อยละ5.4 แต่ไม่มีนัยสําคัญทางสถิติ (p=0.09) แม้ว่าจํานวนผู้ป่วยรายงานภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํามีจํานวนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญ (p=0.021) แต่ผู้ป่วยสามารถแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องหยุดยา ส่วนคะแนนรวมของความมั่นใจในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพเพื่อการควบคุมโรคเบาหวานไม่เพิ่มขึ้น ระดับน้ําตาลหลังอดอาหารที่วัดในเดือนที่ 2 เปรียบเทียบกับเดือน 0 พบว่าระดับน้ําตาลลดลงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.001) จากการศึกษาสรุปได้ว่า การบริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 มีแนวโน้มเพิ่มประสิทธิภาพ การควบคุมระดับน้ําตาลในเลือด การเพิ่มความร่วมมือในการใช้ยาและการจัดการอาการไม่พึงประสงค์จากยา ซึ่งตัวชี้วัดต่างๆ เหล่านี้เป็นสิ่งที่ต้องเฝ้าระวังและควรได้รับการย้ำเตือนอย่างต่อเนื่อง เพราะเป็นปัจจัยสําคัญในการควบคุมโรคเบาหวาน ดังนั้นจึงควรมีการศึกษาผลลัพธ์ในระยะยาวด้วยen
dc.description.abstractThis study aimed to develop the pharmaceutical care process and to evaluate the service impacts namely: drug adherence improvement, blood sugar control, self-monitoring of adverse drug reaction, and self-efficacy of diabetic control, among type 2 diabetic outpatients. There were two phases, the first was to develop pharmaceutical care process and the second was to evaluate the outcomes including drug adherence improvement, blood sugar control, self-monitoring of adverse drug reaction, and self-efficacy of diabetic control, among type 2 diabetic outpatients. The study was conducted at the diabetic ambulatory clinic of Bang Bo Hospital. The 130 eligible participants, diabetic patients with fasting blood sugar above 150 mg/dl at the beginning of the project, were recruited. The description and mechanism of pharmaceutical care process at diabetic outpatient unit was developed. Having been checked up by physicians at the diabetic clinic, every patient visited clinical pharmacists in order to obtain systematic medication and adherence review, health behavior recommendation, self-monitoring and managing adverse drug reaction. The majority of demographic characteristics of 130 participants were followings: female (68.5%), ≥ 6 month diabetes (95.4 %), and 61.3 years (±12.5) of mean age. After the first clinical pharmacist visit of participants, the outcomes at the end of 2nd month were compared with the baseline values. The drug adherence was slightly improved, but not statistically significant (p=0.09). Though the number of patients with hypoglycemic symptoms increased significantly (p=0.021), but they could managed them without medication discontinuation. The total score of self – efficacy in diabetic management was not increased. Comparing the fasting blood sugar of participants at 2nd month with the baseline value found that the reduction was statistically significant (p<0.001). Conclusion: The systematic pharmaceutical care service for type 2 diabetic patient’s trends to improve blood sugar control, medication adherence, and adverse drug reaction management. The further study of long term impact of this service should be evaluated.en
dc.language.isothen
dc.rightsHuachiew Chalermprakiet Universityen
dc.subjectผู้ป่วยเบาหวาน -- การใช้ยาen
dc.subjectDiabetics -- Drug utilizationen
dc.subjectเบาหวาน -- การรักษาด้วยยาen
dc.subjectDiabetics -- Drugs -- Therapeutic useen
dc.subjectเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลินen
dc.subjectNon-insulin-dependent diabetesen
dc.subjectการบริบาลทางเภสัชกรรมen
dc.subjectPharmaceutical servicesen
dc.titleการพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานและประเมินผลลัพธ์การบริบาลทางเภสัชกรรมสําหรับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ณ คลินิกเบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลบางบ่อen
dc.title.alternativeDevelopment of Pharmaceutical Care Process and Impact Evaluation on Type 2 Diabetic Outpatients at a Diabetic Ambulatory Clinic of Bang Bo Hospitalen
dc.typeProceeding Documenten
Appears in Collections:Pharmaceutical Sciences - Proceeding Document

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
HS-86-Development-of-Pharmaceutical-Care-Process (1).pdf476.47 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.