Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2294
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกนกวรรณ ใจภักดี-
dc.contributor.authorกนกพร นทีธนสมบัติ-
dc.contributor.authorพรศิริ พันธสี-
dc.contributor.authorKanokwan Jaipakdee-
dc.contributor.authorKanokporn Nateetanasombat-
dc.contributor.authorPornsiri Punthasee-
dc.contributor.otherTaksin Hospitalen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingen
dc.date.accessioned2024-05-22T04:17:14Z-
dc.date.available2024-05-22T04:17:14Z-
dc.date.issued2016-
dc.identifier.citationวารสารโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ 12,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2559) : 54-68en
dc.identifier.issn1686-8579 (Print)-
dc.identifier.issn2673-0464 (Online)-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2294-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he02.tci-thaijo.org/index.php/JCP/article/view/178261/126774en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการอาการปวดโดยใช้สุวคนธบำบัดร่วมกับดนตรีบำบัด เพื่อลดความปวดในผู้ป่วยหลังผ่าตัดใส่เหล็กยึดตรึงกระดูกขา วิธีการ: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยหลังผ่าตัดใส่เหล็กยึดตรึงกระดูกขา เลือกแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 20 คน และกลุ่มควบคุม 20 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับการพยาบาลตามปกติและโปรแกรมการจัดการอาการปวดโดยใช้สุวคนธบำบัดร่วมกับดนตรีบำบัด ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ ผลการศึกษา: พบว่าค่าเฉลี่ยคะแนนความปวดของผู้ป่วยหลังผ่าตัดใส่เหล็กยึดตรงกระดูกขา หลังได้รับโปรแกรมการจัดการอาการปวดด้วยสุวคนธบำบัดร่วมกับดนตรีบำบัด น้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.01) ส่วนค่าเฉลี่ยคะแนนความปวดของผู้ป่วยหลังผ่าตัดใส่เหล็กยึดตรึงกระดูกขา ระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการจัดการอาการปวดโดยใช้สุวคนธบำบัดร่วมกับดนตรีบำบัด กับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติไม่แตกต่างกันทางสถิติสำหรับค่าเฉลี่ยอัตราเต้นชีพจก และความดันโลหิตภายหลังได้รับโปรแกรมการจัดการอาการปวดด้วยสุวคนธบำบัดและดนตรีบำบัดต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนค่าเฉลี่ยอัตราเต้นชีพจรและความดันโลหิตในผู้ป่วยหลังผ่าตัดใส่เหล็กยึดตรงกระดูกขา ระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการจัดการอาการปวดโดยใช้สุวคนธบำบัดร่วมกับดนตรีบำบัดกับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ ไม่แตกต่างทางสถิติ (p<0.05) สรุป: การวิจัยครั้งนี้ได้นำเสนอผลการวิจัยเป็นภาพรวมของผู้ป่วยผ่าตัดใส่เหล็กยึดตรึงกระดูกขา ซึ่งไม่สามารถควบคุมปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความปวด อาทิ เช่น ปัจจัยด้านสรีรถ ปัจจัยด้านจิตใจ ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรมได้ทั้งหมด ซึ่งอาจจะเป็นตัวแปรที่มีผลต่อการวิจัย อย่างไรก็ตามจะเห็นว่าการพยาบาลตามปกติ ซึ่งเป็นการให้การพยาบาลที่มีประสิทธิภาพตามมาตรฐานของโรงพยาบาลนั้น การนำเอาโปรแกรมการจัดการอาการปวด โดยใช้สุวคนธบำบัดร่วมกับดนตรีบำบัดมาใช้เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วย จะเห็นได้ว่า จากผู้ป่วยมีแนวโน้มคะแนนเฉลี่ยความปวดลดลง การใช้ยาแก้ปวดน้อยลง รวมไปถึงผู้ป่วยสามารถจัดการกับความปวดด้วยตนเองได้ดีมากขึ้นen
dc.description.abstractObjective: To study the effect of pain management program by using aromatherapy and music therapy in postoperative patients with open reduction internal fixation of leg. Method: Forty samples were specifically selected in postoperative patients with open reduction internal fixation of leg, which consisted of twenty samples for experimental group and other twenty samples for control group. The experimental group received conventional nursing care and the pain management program by using aromatherapy and music therapy while the control group conventional nursing care. Result: This study found that mean pain score of postoperative patients with ORIF after received this program were significantly less than before receiving program (p < 0.01). Mean pain score of postoperative patients with ORIF between experimental group and control group were not significantly different. Mean of pulse rate and blood pressure after receiving this program were significantly (p < 0.05). Furthermore, mean of pulse rate and blood pressure of postoperative patients with ORIF between experimental group and control group were notsignificantly different (p < 0.05) Conclusion: The result showed the perspective of the operative patients with open reduction internal fixation of legs. The study was not able to control the factors that effected pain toleration such as anatomy, psychosis, social and culture. However, using pain management by aromatherapy and music therapy program integrated with conventional care based on the hospital standards increased the effective of the nursing care. The average of pain scale decreased, and there were less pain medicine usages. In addition, the patient could handle the pain effectively.en
dc.language.isothen
dc.subjectความเจ็บปวดหลังศัลยกรรมen
dc.subjectPostoperative painen
dc.subjectดนตรีบำบัดen
dc.subjectMusic therapyen
dc.subjectการบำบัดด้วยกลิ่นen
dc.subjectAromatherapyen
dc.titleผลของโปรแกรมการจัดการอาการปวดโดยใช้สุวคนธบำบัด ร่วมกับดนตรีบำบัดในผู้ป่วยหลังผ่าตัดใส่เหล็กยึดตรึงกระดูกขาen
dc.title.alternativeThe effect of postoperative pain management program by using aromatherapy and music therapy in postoperative patients with open reduction internal fixation of legen
dc.typeArticleen
Appears in Collections:Nursing - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Postoperative-pain-management-program.pdf93.39 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.