Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2297
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorYunzhu Zhao-
dc.contributor.authorพัชรินทร์ บูรณะกร-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะศิลปศาสตร์en
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะศิลปศาสตร์en
dc.date.accessioned2024-05-22T06:13:39Z-
dc.date.available2024-05-22T06:13:39Z-
dc.date.issued2017-
dc.identifier.citationวารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 12,23 (มกราคม-มิถุนายน 2560) : 11-23en
dc.identifier.issn1905-2863 (Print)-
dc.identifier.issn2730-2296 (Online)-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2297-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so04.tci-thaijo.org/index.php/larhcu/article/view/152343/111196en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการดำเนินงานด้านสังคมและวัฒนธรรมของสมาคมนักธุรกิจปักกิ่ง ประเทศไทย ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้วิธีเก็บข้อมูลภาคสนามจากการสัมภาษณ์กรรมการบริหาร สมาชิก และเจ้าหน้าที่ของสมาคมนักธุรกิจปักกิ่ง ประเทศไทยซึ่งมีทั้งชาวจีนและชาวไทยเชื้อสายจีนจำนวน 38 คน ผลการวิจัยพบว่า สมาคมนักธุรกิจปักกิ่งประเทศไทยเป็นสมาคมฯชาวจีนที่ก่อตั้งขึ้นในปี 2557 ซึ่งเป็นสมาคมท้องถิ่นโดยเฉพาะปักกิ่งทำให้ลักษณะการดำเนินงานของสมาคมฯ ไม่เหมือนสมาคมฯ อื่น ๆ โดยเฉพาะด้านภาษา สมาคมฯใช้ภาษาจีนกลางเป็นหลักในการสื่อสาร ด้านการจัดกิจกรรม มีการเชิญกลุ่มนักแสดงศิลปะจีนจากทุกมณฑลในสาธารณรัฐประชาชนจีนมาแสดงที่ประเทศไทย เนื่องจากกรุงปักกิ่ง เป็นศูนย์รวมวัฒนธรรมของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีการจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมไทย-จีนเช่น การประกวดการแข่งขันร้องเพลงจีนรุ่นเยาวชน เป็นต้น ด้านการดำเนินงาน สมาคมฯ ได้รับการยอมรับและสนับสนุนจากรัฐบาล องค์กร สมาคม บริษัทต่าง ๆ ของทั้งสองประเทศ จุดเด่นของสมาคมฯ ให้คำปรึกษา และให้บริการเกี่ยวกับข้อมูลการลงทุนแก่สมาชิก มีการช่วยเหลือสมาชิกในด้านธุรกิจการค้า ด้านการเรียนรู้วัฒนธรรมกับสังคมอีกด้วย สมาคมฯ ได้ส่งเสริมการสืบทอดวัฒนธรรมไทยและจีนในสังคมไทย มีการส่งเสริมการทำธุรกิจการค้าระหว่างทั้งสองประเทศ และการเสริมสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่างพลเมืองของทั้งสองประเทศ อันเป็นประโยชน์ต่อการกระชับความสัมพันธ์ไทย-จีนให้แน่นแฟ้นทั้งในปัจจุบันและอนาคตen
dc.description.abstractThis research aimed to study the socio-cultural roles of Beijing’s business association in Thailand using qualitative research methods. Field data collection was semi-structured interview in this study. The 38 key informants were Chinese and Thai-Chinese who have worked as board, members, and staff of the association. The results indicated that the association has been established recently. There are, it was new. Mandarin was used as an official language. It has been established for local Beijing’s businessmen specifically therefore its enterprises were different from the others. Although it has just been established it was recognized and supported by a consortium of companies, government organizations of the two countries. Besides serving on investment to its members, the association provided support to the society in term of socio-cultural activities. Beijing was a cultural hub of China. Therefore, a group of Chinese actresses were invited from every province in China to perform in Thailand. Chinese singing contest for the young generation was an example for the exchange socio-cultural activity. The association encouraged promotion of trade between the two countries and strengthened the relationship and mutual understanding between the citizens of both countries. It was beneficial for Thailand - China relations now and in the futureen
dc.language.isothen
dc.subjectสมาคมนักธุรกิจปักกิ่งประเทศไทยen
dc.subjectThai-Beijing Chamber of Commerceen
dc.subjectนักธุรกิจen
dc.subjectBusinessmenen
dc.subjectบทบาททางสังคมen
dc.subjectSocial roleen
dc.titleสมาคมนักธุรกิจปักกิ่ง ประเทศไทย : บทบาทด้านสังคมและวัฒนธรรมที่มีต่อสังคมไทยen
dc.title.alternativeBeijin’s Business Association Thailand: Socio-cultural Roles on Thai Societyen
dc.typeArticleen
Appears in Collections:Liberal Arts - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Beijin’s-Business-Association-Thailand.pdf81.39 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.