Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2311
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปานทิพย์ รัตนศิลป์กัลชาญ-
dc.contributor.authorวรภัทร บุญเยี่ยม-
dc.contributor.authorธนวัฒน์ กษมาวุฒิ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเทคนิคการแพทย์en
dc.contributor.otherสถาบันโรคผิวหนังen
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเทคนิคการแพทย์en
dc.date.accessioned2024-05-22T12:20:27Z-
dc.date.available2024-05-22T12:20:27Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.citationวารสาร มฉก. วิชาการ 23, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2562) : 47-59.en
dc.identifier.issn0859-9343 (Print)-
dc.identifier.issn2651-1398 (Online)-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2311-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/146640/138063en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบผลกระทบจากการวิเคราะห์ทางเคมีคลินิกในตัวอย่างส่งตรวจที่มีการแตกของเม็ดเลือดแดง โดยใช้เลือดจากอาสาสมัครสุขภาพดี 30 ราย ซึ่งอยู่ในช่วงอายุ 20-60 ปี เลือดครบส่วนจากอาสาสมัครถูกแยกออกมาเป็นพลาสมาที่ไม่มีการแตกของเม็ดเลือดแดงโดยวิธีการปั่นเหวี่ยง ส่วนเลือดที่มีการแตกของเม็ดเลือดแดงเตรียมโดยใส่เลือดแดงที่ทําให้แตกแล้ว ลงไป ในพลาสมาของเจ้าของเลือด โดยคํานวณให้มีระดับฮีโมโกลบินเข้มข้นที่ 0.9 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร 1.8 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร 3.5 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร และ 6.7 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร เทียบได้กับตัวอย่างส่งตรวจที่มีระดับเม็ดเลือดแดงแตก 1+, 2+, 3+ และ 4+ ตามลําดับ หลังจากนั้น นําตัวอย่างทั้งหมดไปทําการวิเคราะห์ทางเคมีคลินิก 14 การทดสอบ ได้แก่ กลูโคส ยูเรียไนโตรเจน ครีอะตินีน กรดยูริค โคเลสเตอรอลรวม ไตรกลีเซอร์ไรด์ โคเลสเตอรอลชนิดเอชดีแอล โคเลสเตอรอลชนิดแอลดีแอล โปรตีนรวม อัลบูมิน บิลิรูบินรวม บิลิรูบินชนิดละลายน้ํา เอ็นไซม์แอสพาร์เทตอะมิโนทรานสเฟอเรส และเอ็นไซม์อะลานีน อะมิโนทรานสเฟอเรส โดยใช้เครื่องวิเคราะห์อัตโนมัติ ผลการวิเคราะห์พบว่าระดับการแตกของเม็ดเลือดแดงในตัวอย่างส่งตรวจส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของค่าการวิเคราะห์ทางเคมีคลินิคอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ดังนี้ ภาวะการแตกของเม็ดเลือดแดง 1+ ส่งผลต่อการวิเคราะห์ บิลิรูบินชนิดละลายน้ําได้ (p<0.05) ภาวะการแตกของเม็ดเลือดแดง 2+ ส่งผลต่อการวิเคราะห์บิลิรูบินรวม และเอนไซมแอสพาร์เทตอะมิโน ทรานสเฟอเรส (p<0.05) และภาวะการแตกของเม็ดเลือดแดง 4+ ส่งผลต่อการวิเคราะห์กลูโคส กรดยูริค เอนไซม์อะลานีนอะมิโนทรานสเฟอเรส และโปรตีนรวม (p<0.05) อย่างไรก็ตาม การแตกของเม็ดเลือดแดงไม่ส่งผลกระทบอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติต่อการทดสอบ ยูเรียไนโตรเจน โคเลสเตอรอลรวม ไตรกลี เซอร์ไรด์ โคเลสเตอรอลชนิดเอชดีแอล โคเลสเตอรอลชนิดแอลดีแอล อัลบูมิน และ ครีอะตินีน ผลการวิจัยสรุปได้ว่า ระดับการแตกของเม็ดเลือดแดงส่งผลกระทบต่อการทดสอบแตกต่างกันไป ดังนั้น ระดับการแตกของเม็ดเลือดแดงเป็นปัจจัยสําคัญในการพิจารณาเพื่อป้องกันการปฏิเสธสิ่งส่งตรวจโดยไม่จําเป็นen
dc.description.abstractThis study aimed to examine the effect of hemolysis by clinical chemistry analysis. Blood samples were obtained from 30 healthy volunteers in the age range of 20-60 years. Non-hemolyzed plasma was separated from whole blood by centrifugation. Hemolysis was simulated in samples by adding their own hemolysate to their non-hemolyzed plasma to make the final concentration of hemoglobin at 0.9 mg/mL, 1.8 mg/mL, 3.5 mg/mL and 6.7 mg/mL. These samples can be classified as 1+, 2+, 3+ and 4+ hemolysis samples respectively. Subsequently, all samples were analyzed for the following 14 parameters: glucose, BUN, creatinine, uric acid, total cholesterol, triglyceride, HDL-cholesterol, LDL-cholesterol, total protein, albumin, total bilirubin, direct bilirubin, AST and ALT using an automatic analyzer. Clinical chemistry analysis showed different hemolysis levels appear to increase the level of certain tests significantly. Accordingly, hemolysis 1+ affected direct bilirubin level (p<0.05). Hemolysis 2+ affected total bilirubin and AST level (p<0.05). Hemolysis 4+ affected glucose, uric acid, ALT and total protein level (p<0.05). However, hemolysis did not significantly affect to the results of BUN, total cholesterol, triglyceride, HDL-cholesterol, LDL-cholesterol, albumin and creatinine level. In conclusion, these results suggest that different levels of hemolysis may affect different chemical analytic parameters. Considering these results, hemolysis level may be an important factor to prevent unnecessary rejection.en
dc.language.isothen
dc.subjectเม็ดเลือดแดงen
dc.subjectHemolysisen
dc.subjectเลือด -- การตรวจen
dc.subjectBlood -- Examinationen
dc.subjectการวินิจฉัยโรคทางห้องปฏิบัติการen
dc.subjectDiagnosis, Laboratoryen
dc.subjectเลือด -- การวิเคราะห์en
dc.subjectBlood -- Analysisen
dc.subjectเคมีคลินิกen
dc.subjectChemistry, Clinicalen
dc.titleผลกระทบต่อการวิเคราะห์ทางเคมีคลินิกจากตัวอย่างส่งตรวจที่มีการแตกของเม็ดเลือดแดงen
dc.title.alternativeThe Effect of Hemolytic Contamination in Sample on Clinical Chemistry Analysisen
dc.typeArticleen
Appears in Collections:Medical Technology - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Effect-of-Hemolytic-Contamination-in-Sample.pdf100.5 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.