Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2316
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปิยรัตน์ สมันตรัฐ | - |
dc.contributor.author | ศิรดา เกษรศรี | - |
dc.contributor.author | สุดใจ จิตตยานนท์ | - |
dc.contributor.author | สมใจ กาญจนาพงศ์กุล | - |
dc.contributor.author | Piyarat Samantarath | - |
dc.contributor.author | Sirada Kesornsri | - |
dc.contributor.author | Sudchai Jittayanont | - |
dc.contributor.author | Somjai Kanchanapongkul | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing | en |
dc.contributor.other | Mahidol University. Faculty of Nursing | en |
dc.contributor.other | Queen Sirikit National Institute of Child Health | en |
dc.contributor.other | Queen Sirikit National Institute of Child Health | - |
dc.date.accessioned | 2024-05-24T12:41:42Z | - |
dc.date.available | 2024-05-24T12:41:42Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.citation | วารสารพยาบาลศาสตร์ 40, 2 (เมษายน-มิถุนายน 2565) : 124-139. | en |
dc.identifier.issn | 0125-8885 (Print) | - |
dc.identifier.issn | 2651-1959 (Online) | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2316 | - |
dc.description | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/254624/174724 | en |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของประสบการณ์ด้านอาการ ภาวะวิตกกังวล และความแข็งแกร่งและยืดหยุ่นของชีวิต ต่อสุขภาวะทางจิตใจของผู้ป่วยวัยรุ่นโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ ผู้ป่วยวัยรุ่นโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด จำนวน 100 รายที่มารับการรักษาที่แผนกโลหิตวิทยาและมะเร็งเด็กโรงพยาบาลระดับตติยภูมิขั้นสูงแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เก็บข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลโรคและการรักษา แบบบันทึกอาการจากโรคและการรักษา แบบวัดอาการวิตกกังวลและอาการซึมเศราฉบับภาษาไทย แบบวัดความแข็งแกร่งและยืดหยุ่นของชีวิต และแบบวัดการรับรู้สุขภาวะทางจิตใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุคูณด้วยวิธีการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัย: ผู้ป่วยวัยรุ่นโรคมะเร็งมีคะนนเฉลี่ยการรับรู้สุขภาวะทางจิตใจเท่ากับ 77.30 (SD=8.66) ความแข็งแกร่งและยืดหยุ่นของชีวิต และประสบการณ์ด้านอาการ สามารถทำนายสุขภาวะทางจิตใจในผู้ป่วยวัยรุ่นโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด ได้ร้อยละ 29 (R[superscript2] =.29) สรุปและข้อเสนอแนะ: ความแข็งแกร่งและยืดหยุ่นของชีวิต และประสบการณ์ด้านอาการสามารถทำนายสุขภาวะทางจิตใจในวัยรุ่นโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัดได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ พยาบาลที่ดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ควรให้ความสำคัญกับการประเมินอาการ และช่วยให้ผู้ป่วยสามารถจัดการกับอาการต่างๆ ทั้งในระหว่างการได้รับการรักษาหรือหลังจากหยุดยาเคมีบำบัดแล้ว และควรส่งเสริมมีสุขภาวะทางจิตใจที่ดี โดยการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความแข็งแกร่งและยืดหยุนของชีวิตอีกทั้งสร้างความตระหนักของผู้ปกครองถึงความสำคัญในการส่งเสริมให้วัยรุ่นพัฒนาความแข็งแกร่งและยืดหยุ่ดของชีวิตเพื่อที่จะปรับตัวต่อความเจ็บป่วยและมีสุขภาวะทางจิตใจที่ดีได้ | en |
dc.description.abstract | Purpose: This research aims to investigate the predictive abilities of symptom experiences, anxiety, and resiliency on psychological well-being among adolescents undergoing and underwent chemotherapy for cancer. Design: Predictive study. Methods: Participants were 100 adolescents undergoing cancer treatment at the Division of Pediatric Hematology and Oncology at a tertiary referral hospital in Bangkok. Data were collected through Demographic and Medical Record Form, the Modified Memorial Symptom Assessment Scale, Hospital Anxiety and Depression Scale, Connor-Davidson Resilience Scale, and Ryff’s Psychological Well-Being Scale. Data were analyzed by stepwise method of multiple regression analysis. Main findings: An average score of psychological well-being reported by adolescents with cancer was 77.30 (SD=8.66). Resiliency and symptom experience could significantly predict psychological well-being and explain 29% of the variances (R[superscript2] =.29). Conclusions and recommendations: Resiliency and symptom experience were statistically significant predictors of psychological well-being in adolescents underwent cancer chemotherapy. Nurses should play heed to assess the symptoms and help adolescents to be able to manage the symptoms either during chemotherapy session or completed treatment phase, as well as promote adolescents’ psychological well-being through activities that strengthen their resiliency. In addition, parents’ awareness of the importance of promoting adolescents’ resiliency should be raised so that their adolescents will achieve the adjustment to illness and increased psychological well-being. | en |
dc.language.iso | th | en |
dc.subject | สุขภาวะทางจิต | en |
dc.subject | Psychological Well-Being | en |
dc.subject | มะเร็งในวัยรุ่น | en |
dc.subject | Cancer in adolescence | en |
dc.subject | เคมีบำบัด | en |
dc.subject | Chemotherapy | en |
dc.title | ปัจจัยทำนายสุขภาวะทางจิตใจของวัยรุ่นโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด | en |
dc.title.alternative | Predictors of Psychological Well-Being among Adolescents Receiving Cancer Chemotherapy | en |
dc.type | Article | en |
Appears in Collections: | Nursing - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Psychological-Well-Being.pdf | 79.74 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.