Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2319
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศนิชา แก้วเสถียร-
dc.contributor.authorนัฐธิยา บุญอาพัทธิ์เจริญ-
dc.contributor.authorSanicha Kawsathien-
dc.contributor.authorNatthiya Boonaphatjarern-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Artsen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Artsen
dc.date.accessioned2024-05-25T01:55:15Z-
dc.date.available2024-05-25T01:55:15Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.citationวารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ ปีที่ 14, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2562) : 41-55en
dc.identifier.issn1905-2863 (Print)-
dc.identifier.issn2730-2296 (Online)-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2319-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so04.tci-thaijo.org/index.php/larhcu/article/view/228924/155838en
dc.description.abstractการศึกษาพฤติกรรมของตัวละครในงานวรรณกรรมเป็นแนวทางหนึ่งที่ทำให้ผู้อ่านเห็นถึงผลลัพธ์ที่ดีและผลลัพธ์ที่สร้างความเสียหายให้แก่สังคม พฤติกรรมของตัวละครทำให้เกิดการเรียนรู้ถึงผลของการกระทำ และการใช้ทฤษฎีจิตวิเคราะห์เป็นแนวทางการศึกษาพฤติกรรมจะสะท้อนให้เห็นถึงอารมณ์ ความคิด บุคลิกภาพ ซึ่ง“ฤๅษี ทุรวาส” เป็นผู้มีพฤติกรรม “การสาปแช่ง” บ่อยครั้ง การศึกษาพฤติกรรมฤๅษีทุรวาส จะมุ่งเน้นให้เห็นถึงความ สัมพันธ์ระหว่างอัตลักษณ์กับการใช้กลวิธานป้องกันตนเอง ซึ่งพฤติกรรมมุ่งร้ายผู้อื่นเป็นอีกหนึ่งบริบทที่ผู้อ่านวรรณกรรมจะรับรู้ผลลัพธ์ของการกระทำที่สร้างความเสียหายอย่างชัดเจน จากผลการศึกษาพฤติกรรมฤๅษีทุรวาส การเป็นผู้มีสุขภาพจิตที่ดีนั้นต้องมีการคงอยู่ในพฤติกรรมที่พึงประสงค์ การปฏิบัติตนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีกับการระมัดระวังต่อการใช้กลวิธานป้องกันตนเอง ในบทความนี้ ผู้เขียนจึงสนใจประเด็นการรับรู้การใช้กลวิธานป้องกันตนเองที่จะเป็นพลังขับเคลื่อนในบริบทพฤติกรรมที่เป็นปัญหา คือ การส่งผลต่อการไม่สามารถยอมรับความจริงและมีปัญหาการสร้างสัมพันธ์กับผู้อื่น ผลการศึกษาสามารถนำไปใช้ฝึกฝนตนเองให้ลดการใช้กลวิธานป้องกันตนเอง โดยบ่มเพาะการอุปนิสัยที่เอื้อต่อพฤติกรรมสร้างคุณค่าและสร้างความรับผิดชอบต่อตนเองen
dc.description.abstractThe study of character behaviors in literature is one of the ways in which readers can see the good results and the results that damage the society. The behavior of the characters leads to learning of the effects of actions and psychoanalytic theories as a way to study behavior, will reflect the emotions, thoughts and personality. In which "Durvasa Hermit" is a person with behavior "the Curse" a study of hermit behavior “Durvasa” will focus on the relationship between identities and the use of self defense mechanisms. Malignant behavior is another context in which the reader of the literature clearly acknowledges the consequences of damaging actions. Results of the hermit behavior study being a person with good mental health requires persistence in desirable behavior, the practicing to have a good quality of life with caution in using self-defense mechanisms. In this article, the author is interested in the perception of the use of self-defense mechanisms that will be the driving force in the context of the problematic behavior, namely the effect of not being able to accept the truth and the problem of creating relationships with others.en
dc.language.isothen
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาen
dc.subjectContent analysis (Communication)en
dc.subjectตัวละครและลักษณะนิสัยen
dc.subjectCharacters and characteristicsen
dc.subjectจิตวิเคราะห์กับวรรณคดีen
dc.subjectPsychoanalysis and literatureen
dc.subjectกลวิธานป้องกันตนเองen
dc.subjectDefense mechanisms (Psychology)en
dc.titleคำสาปของฤๅษีทุรวาสกับการใช้กลวิธานป้องกันตนเองen
dc.title.alternativeCurse of the Durvasa Hermit and Using Self Defense Mechanismen
dc.typeArticleen
Appears in Collections:Liberal Arts - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Curse-of-the-Durvasa-Hermit.pdf134.73 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.