Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2347
Title: | เอกลักษณ์ของปลาสลิดจังหวัดสมุทรปราการในมุมมองของผู้เชี่ยวชาญ |
Other Titles: | The Identity of the Pla Salid (Gourami Fish) in the Perspective of those Expert of Samutprakarn Province |
Authors: | น้้าผึ้ง มีศิล Namphueng Meesil Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare |
Keywords: | ปลาสลิด -- ไทย -- สมุทรปราการ Snakeskin -- Thailand -- Samut Prakarn ปลาสลิด -- การเลี้ยง เอกลักษณ์ทางสังคม Group identity |
Issue Date: | 2018 |
Abstract: | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาเอกลักษณ์หรือความโดดเด่นของปลาสลิดในเขตจังหวัด สมุทรปราการในมุมมองของผู้เชี่ยวชาญจำนวน 10 ท่าน โดยการนำวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพมาใช้ในการทำความเข้าใจถึงความโดดเด่นที่คล้ายคลึงกันของปลาสลิดในจังหวัดสมุทรปราการ ข้อค้นพบจากการวิจัยคือ การเลี้ยงปลาสลิดในจังหวัดสมุทรปราการเป็นการเลี้ยงแบบธรรมชาติ โดยการฟันหญ้าแช่ลงในบ่อปลาสลิดซึ่งจะทำให้เกิดไรแดงและแพลงตอนซึ่งเป็นอาหารของปลาสลิด ส่งผลให้เกิดแก่นของเอกลักษณ์ คือ 1) หนังปลาสลิดมีสีคล้ำ เนื้อปลามีสีเหลืองอ่อน เมื่อทอดแล้วสีจะเข้มขึ้นจนเป็นสีเหลืองทอง ลำตัวปลาเรียว เล็ก 2) การตากปลาสลิดแห้งแบบดั้งเดิม มีลักษณะ ครีบกาง หางปลาฉีกออก 3) รสชาดของปลาสลิดจังหวัด สมุทรปราการคือ เนื้อแน่น เหนียว ไม่มีกลิ่นสาป ไขมันน้อย 4) การแปรรูปเป็นปลาสลิดแห้งมักทำใน 2 ลักษณะ คือ ปลาสลิดหอมและปลาสลิดเค็ม ซึ่งเป็นภูมิปัญญาของชาวสมุทรปราการ เมื่อเปรียบเทียบปลาสลิดของจังหวัดสมุทรปราการกับปลาสลิดของจังหวัดอื่น พบว่า ปลาสลิดที่เลี้ยงจากจังหวัดอื่น มักเป็นการเลี้ยงปลาเชิงพาณิชย์ คือ การเลี้ยงด้วยอาหารปลาทำให้ตัวปลาที่ได้มีขนาดใหญ่ หนังเป็นสีขาว ลำตัวอวบอ้วน มีไขมันที่หน้าท้องมาก และมีกลิ่นสาป ซึ่งผลการวิจัยในครั้งนี้สามารถนำมาพัฒนาสัญลักษณ์ทางการค้าที่ระบุถึงคุณสมบัติเฉพาะที่โดดเด่นหรือเอกลักษณ์ของปลาสลิดสมุทรปราการให้ผู้บริโภคทั่วไปรับทราบได้ต่อไป The purpose of this research was to identify the uniqueness or remarkableness of Pla Salid (Gourami fish) in Samutprakarn province in perspective of 10 experts by using qualitative research method to study the similarity of remarkableness of gourami fish in Samut Prakan province. The findings was raising gourami fish in Samutprakarn province using natural method by cutting the grass and sink in the gourami fish ponds to produce the phytoplankton which is the food of gourami fish. This natural method had been effected to the gourami fish essence as follow: 1) gourami fish’s skin is dark, fish meat is light yellow, when gourami fish is fried the color will turn to golden yellow, small torso of gourami fish and slender, 2) the way people dried the fish remained the traditional identity by making the unfold fins and splitting tailfin. 3) The taste of gourami fish is firm, sticky, no odor, low fat, 4) Gourami fish processing have done in two forms namely fragranced gourami fish and salted gourami fish which is local wisdom of Samutprakarn people. In comparison of gourami fish raise in Samutprakarn province with raising in the other provinces, the different is the other provinces is commercial raise. The gourami fish is fed with fish food which make the jumbo size of fish, white skin, plump, full of fat at fish stomach, and musty smell. The findings of this research can be used to develop a trade mark that identifies the special quality or uniqueness of gourami fish in Samutprakarn province to general consumers. |
Description: | The 9th National & International Conference of Suan Sunandha Rajabhat University Bangkok, Thailand, “Local & Global Sustainability : Meeting the Challenges & Sharing the Solutions” 20 March 2018 at Suan Sunandha Rajabhat University Bangkok, Thailand, p.764-773. สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ http://journalgrad.ssru.ac.th/index.php/8thconference/article/view/1287 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2347 |
Appears in Collections: | Social Work and Social Welfare - Proceeding Document |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Identity-of-the-Pla-Salid.pdf | 93.31 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.