Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2354
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธมนวรรณ ฉิมมณี-
dc.contributor.authorมรกต กำแพงเพชร-
dc.contributor.authorนันทวุฒิ ครุธา-
dc.contributor.authorMorakhot Kamphaengphet-
dc.contributor.authorNuntawut Kruta-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administrationen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administrationen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administrationen
dc.date.accessioned2024-06-02T15:10:23Z-
dc.date.available2024-06-02T15:10:23Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2354-
dc.descriptionThe 9th National & International Conference of Suan Sunandha Rajabhat University Bangkok, Thailand, “Local & Global Sustainability : Meeting the Challenges & Sharing the Solutions” 20 March 2018 at Suan Sunandha Rajabhat University Bangkok, Thailand, p. 666-675. สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ http://journalgrad.ssru.ac.th/index.php/8thconference/article/view/1278en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)เพื่อศึกษาปัจจัยแรงจูงใจที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรฝ่าย บริหารทรัพยากรบุคคล องค์กร A 2)เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรฝ่ายบริหารทรัพยากรบุคคล องค์กร A 3)เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยแรงจูงใจที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรฝ่ายบริหารทรัพยากรบุคคล องค์กร A เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาจำนวน 60 คน และเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างโดยใช้สถิติแบบ t-test , F-test และทดสอบค่าความแตกต่างรายคู่โดยวิธี LSD. และทดสอบความสัมพันธ์โดยใช้สถิติสหสัมพันธ์อย่างง่ายของเพียร์สันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า 1)ปัจจัยแรงจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรฝ่ายทรัพยากรบุคคล องค์กร A โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อวิเคราะห์ตามรายด้าน พบว่า ปัจจัยค้ำจุน มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยด้านย่อยที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการบังคับบัญชา รองลงมาคือ ด้านสภาพแวดล้อมการทำงาน ด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และด้านนโยบายและการบริหาร ส่วนปัจจัยจูงใจ มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยด้านย่อยที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านความสำเร็จของงาน รองลงมาคือ ด้านการได้รับการยอมรับ ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ ด้านความรับผิดชอบ และด้านลักษณะงาน 2)ระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานฝ่ายทรัพยากรบุคคลองค์กร A เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าทุกด้านมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านวิธีการ รองลงมาคือ ด้านคุณภาพของงานมีค่าเฉลี่ยเท่ากันกับด้านเวลา 3)ปัจจัยแรงจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากร ด้านคุณภาพของงาน ด้านเวลา และด้านวิธีการ มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรทั้งโดยรวมและรายด้าน ได้แก่ ด้านความสำเร็จของงาน และด้านความรับผิดชอบ รวมทั้งด้านนโยบายและการบริหาร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ปัจจัยแรงจูงใจด้านการได้รับการยอมรับมีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรด้านวิธีการ ปัจจัยแรงจูงใจด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านสิ่งแวดล้อมการทำงาน มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรด้านคุณภาพของงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05en
dc.description.abstractThe purpose of this research is 1. Study the motivation that effect to working of employee in HR department of organization A 2. Study the working’s performance of employee in HR department 3. Study the relationship between the motivation that effect to the working’s performance of employee in HR department of organization A. This is the quantitative research. Using 60 examples and the tools for this research is questionnaire. The statistics include by frequency, percent, median, S.D. Testing the differentiate by T-Test, F-test, LSD and the correlation statistic is 0.05. The result was found 1) the motivation that effect to the working of employee in HR department of company A is in the high level. Analyzing for each side found that the sustain force has the average in the high level and the sub side that had the highest average is the command the second were work’s environment, salary and prophecy, relation of employee and the policy. The motivation is in the high level. The sub-side that had the highest average was the success of work. The second were acceptance, the progress of work, responsibility and the kind of job. 2) working’s performance of employee in HR department found that every side was in the high level by the highest was method. Second were quality of work, time had the same average. 3) motivation factors affecting the performance of employee in HR department of organization A found that quality of work, time, method was related with working’s performance of employee by overview and each side such as success of work, responsibility and policy at statistic 0.05. motivation factors, the acceptance was related to work’s performance with the method. Force of motivation, the relation between the employees and environment of work were related to work’s performance with work’s quality at statistic 0.05.en
dc.language.isothen
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.subjectการจูงใจในการทำงานen
dc.subjectEmployee motivationen
dc.subjectผลิตภาพen
dc.subjectProductivityen
dc.titleปัจจัยแรงจูงใจที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร ฝ่ายบริหารทรัพยากรบุคคล องค์กร Aen
dc.title.alternativeMotivation Factors Related to The Performance of Human Resources Employee in Organization Aen
dc.typeProceeding Documenten
Appears in Collections:Business Administration - Proceeding Document

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Motivation-Factors-Related-to-the-Performance.pdf90.56 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.