Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2405
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorNutsakolpach Chouvorrasista-
dc.contributor.authorณัทสกลพัชร เชาว์วรศิษฐ์-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Artsen
dc.date.accessioned2024-06-19T02:58:36Z-
dc.date.available2024-06-19T02:58:36Z-
dc.date.issued2016-
dc.identifier.citationวารสารปัญญาภิวัฒน์ (8, ฉบับ Supplementary ธันวาคม 2559) : 226-236en
dc.identifier.issn2651-1088 (Online)-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2405-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pimjournal/article/view/73570/59257en
dc.description.abstractThis quantitative research aims to improve students’ language competency. Four-different-area focus tools: “True Calling” (pronunciation), “Drop Me Off” (stressing), “Pick Me Up” (listening comprehension), and “Speak It Out” (speaking) were used to help students mitigate their weak learning areas and strengthen both receptive (listening) and productive (speaking) skills. Prior to the experiment, TOEIC test were used as a pretest and post test. Sixty-seven students in the Conversational English classes were chosen to be participants. This research began with the pronunciation, stressing, Listening comprehension, speaking tools consecutively. This research also includes the interview sessions of three American educators. In addition, the questionnaire helped the researcher understand the participants’ background language competency and individual interests towards the focused communicative skills. The results show that the participants performed better in some areas. In further research, some factors should be focused more on the background environment, with native English speakers (as peers) and on more demanding immersion situations.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความสามารถทางภาษาของนักศึกษา โดยการเน้นทักษะการฟัง การออกเสียง การเน้นเสียงหนัก-เบาและการพูด โดยใช้เครื่องมือ 4 ชนิด คือ “True Calling” (การออกเสียง) “Drop Me Off” (การเน้นเสียงหนัก-เบา) “Pick Me Up” (การฟัง) และ “Speak It Out” (การพูด) เครื่องมือเหล่านี้จะช่วยลดจุดอ่อนในการเรียนของนักศึกษา ในงานวิจัยนี้คือ นักศึกษา จำนวน 67 คน ที่เรียนในรายวิชาสนทนาภาษาอังกฤษ การวิจัยมีการสอบ pre-test และ post-test โดยใช้ข้อสอบ TOEIC หลังจากนั้นเครื่องมือ 4 ชนิดดังกล่าวได้ถูกนำมาใช้โดยเริ่มจากการออกเสียง การเน้นเสียงหนัก-เบา การฟัง และการพูดโดยลำดับ ในงานวิจัยนี้มีการสัมภาษณ์ผู้ให้การศึกษาชาวอเมริกัน 3 ท่าน นอกจากนี้แบบสอบถามภูมิหลังความสามารถในภาษาอังกฤษของนักศึกษาทำให้เข้าใจ ความสนใจด้านทักษะการฟัง-พูดของนักศึกษาแต่ละคน ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า กลุ่มตัวอย่างมีพัฒนาการในบางทักษะแต่ขณะเดียวกันมีความก้าวหน้าน้อยในการใช้เครื่องมือบางอย่าง แต่ถึงกระนั้น กลุ่มตัวอย่างต้องการเวลามากกว่านี้เพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาของตนเอง ในการศึกษาครั้งต่อไป ควรมีการพิจารณาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมภูมิหลัง โดยผู้ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ (เป็นผู้ประเมิน) และใช้สถานการณ์ที่ทำให้กลุ่มตัวอย่างตั้งใจปฏิบัติมากขึ้นen
dc.language.isoen_USen
dc.subjectEnglish language -- Study and teaching (Higher)en
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน (อุดมศึกษา)en
dc.subjectCommunicative competenceen
dc.subjectความสามารถในการสื่อสารen
dc.subjectEnglish language -- Accents and accentuationen
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การออกเสียงและการลงน้ำหนักเสียงen
dc.titleThe English Listening-Speaking Cornerstonesen
dc.title.alternativeหลักสำคัญพื้นฐานในการสร้างเสริมทักษะการฟัง-พูดภาษาอังกฤษen
dc.typeArticleen
Appears in Collections:Liberal Arts - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
English-Listening-Speaking .pdf86.9 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.