Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2418
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศักดิ์สิทธิ์ มณีเพ็ชร-
dc.contributor.authorธีระพงษ์ โสประดิษฐ์-
dc.contributor.authorสุพิชา อินทร์มอญ-
dc.contributor.authorกาญจนาพร ผูกโอสถ-
dc.contributor.authorพัชรณัฐ วาริชพงศ์-
dc.contributor.authorรัตนา แสนซุ้ง-
dc.contributor.authorอัคราช ภมรพล-
dc.contributor.authorSupicha Inmorn-
dc.contributor.authorKanjanaporn Phook-O-Sot-
dc.contributor.authorPatcharanut Varichapong-
dc.contributor.authorRattana Saensung-
dc.contributor.authorAkkarat Phamonphon-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Healthen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Healthen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Healthen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Healthen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Healthen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Healthen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Healthen
dc.date.accessioned2024-06-29T14:35:51Z-
dc.date.available2024-06-29T14:35:51Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2418-
dc.descriptionProceedings of the 7th National and International Conference on "Research to Serve Society", 12 July 2019 at Huachiew Chalermprakiet University, Bangphli District, Samutprakarn, Thailand. p. 1115-1127en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ และจำนวนชั่วโมงการนอนหลับ ปัจจัยการใช้งานสมาร์ทโฟน ได้แก่ ระยะห่างระหว่างตากับจอสมาร์ทโฟน ขนาดหน้าจอสมาร์ทโฟน ความเข้มของแสงหน้าจอสมาร์ทโฟน ลักษณะท่าทางในการมองจอสมาร์ทโฟน และประเภทการใช้งานสมาร์ทโฟน กับความเมื่อยล้าของสายตาจากการใช้สมาร์โฟน ของนักศึกษาสาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ กลุ่มประชากรคือ นักศึกษาสาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัยคณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติที่มีสายตาปกติ และมีการใช้สมาร์ทโฟน ต่อเนื่องและใช้งานเป็นประจำอย่างน้อย 2 ชั่วโมงต่อวัน จำนวนทั้งหมด 41 คน โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวมรวบข้อมูล เครื่องวัดความเมื่อยล้าทางสายตา (Fatigue Test Apparatus Digital Flicker) และทดสอบทางสถิติด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการศึกษาวิจัย พบว่า กลุ่มประชากรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 82.93 อายุอยู่ในช่วงน้อยกว่าหรือเท่ากับ 20 ปี คิดเป็นร้อยละ 58.54 จำนวนชั่วโมงการนอนหลับน้อยกว่า 7 ชั่วโมงคิดเป็นร้อยละ 58.54 ระยะห่างระหว่างตากับจอสมาร์ทโฟน น้อยกว่า 30 เชนติเมตรคิดเป็นร้อยละ 75.61 ขนาดหน้าจอสมาร์ทโฟน อยู่ที่ 4.7 นิ้ว คิดเป็นร้อยละ 24.39 ความเข้มของแสงหน้าจอสมาร์ทโฟน อยู่ในช่วง 1 - 50 ลักซ์ คิดเป็นร้อยละ 87.80 ลักษณะท่าทางในการมองจอสมาร์ทโฟน ต่ำกว่าระดับสายตาคิดเป็นร้อยละ 97.56 และกลุ่มประชากรส่วนใหญ่จะมีประเภทการใช้งานสมาร์ทโฟนมากที่สุดคือการใช้ดูหนัง ดูยูทูป คิดเป็นร้อยละ 36.59 จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยการใช้งานสมาร์ทโฟน ที่มีความสัมพันธ์ต่อความเมื่อยล้าของสายตาจากการใช้สมาร์ทโฟน พบว่า จำนวนชั่วโมงการนอนหลับ ระยะห่างระหว่างตากับจอสมาร์ทโฟน และประเภทการใช้งานสมาร์ทโฟน มีความสัมพันธ์ต่อเมื่อยล้าของสายตาจากการใช้สมาร์ทโฟน ของนักศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระตับ p-Value <0.05) โดยผลการวิจัยในครั้งนี้สามารถใช้เป็นแนวทางในการป้องกันการเกิดผลกระทบต่อสุขภาพตาจากการใช้สมาร์ทโฟน เช่น จัดให้มีการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้สมาร์ทโฟนที่ปลอดภัย (ระยะห่างระหว่างตากับจอสมาร์ทโฟนที่เหมาะสม และประเภทการใช้งานสมาร์ทโฟนที่เหมาะสม) เพื่อลดอาการเมื่อยล้าของสายตา เป็นต้นen
dc.description.abstractThe objective of the research was to study related factors to visual fatigue in smartphone usage include: personal factors (gender, age and sleeping period), smartphone usage factors (The distance between eye and smartphone display, smartphone display size, smartphone display brightness, vision posture and type of smartphone usage). All 41 students of occupational health and safety at faculty of public and environmental health, Huachiew Chalermprakiet University attended in this study. Students had normal vision and used smartphone continuously for at least 2 hours a day. The instrument used to collect the data was questionnaire and Fatigue Test Apparatus Digital Flicker. The collected data were analyzed by using a statistical software package. The result of this research showed: There are 41 occupational health and safety students. Most of them most female (82.93%). Their ages were 20 years old (58.54%). Sleeping period was than 7 hours (58.54%). The distance between the display of smartphone was 4.7 inches [24.39%) and the brightness was about 1-50 lux (87.80%). Vision posture was lower than eye level (97.56%). Type of smartphone usage are were to watch movie and YouTube channel (36.59%), Furthermore, it was found the factor significantly affected on visual fatigue were sleeping period and the distance between eye and smartphone display at the P-Value <0.05 level of significance. Finally, the results of this research can be used a guideline to prevent health effects from using smartphones such as promoting and training about safety knowledge (the distance between eye and smartphone display, type of smartphone usage) to reduce visual fatigue.en
dc.language.isothen
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.subjectสมาร์ตโฟนen
dc.subjectSmartphonesen
dc.subjectกลุ่มอาการล้าเรื้อรังen
dc.subjectChronic fatigue syndromeen
dc.subjectความล้าen
dc.subjectFatigueen
dc.subjectสายตาen
dc.subjectVisionen
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความเมื่อยล้าของสายตาจากการใช้สมาร์ทโฟนของนักศึกษาสาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.title.alternativeFactors Related to Visual Fatigue in Smartphone Usage among Occupational Health and Safety Students at Faculty of Public and Environmental Health, Huachiew Chalearmprakiet Universityen
dc.typeProceeding Documenten
Appears in Collections:Public and Environmental Health - Proceeding Document

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Factors-related-to-Visual-Fatigue.pdf3.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.