Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2472
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อรพิน พรรคโยภณ | - |
dc.contributor.author | อโนทัย ผลิตนนท์เกียรติ | - |
dc.contributor.author | Anothai Palitnonkert | - |
dc.contributor.other | Ban Khlong Nueng Tambon Health Promoting Hospital | en |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health | en |
dc.date.accessioned | 2024-07-14T07:13:19Z | - |
dc.date.available | 2024-07-14T07:13:19Z | - |
dc.date.issued | 2019 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2472 | - |
dc.description | Proceedings of the 7th National and International Conference on "Research to Serve Society", 12 July 2019 at Huachiew Chalermprakiet University, Bangphli District, Samutprakarn, Thailand. p. 998-1007. | en |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยในครั้งนี้แบบกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุก่อนหลังและระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคม กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุที่มีอายุ 60 ปี จำนวน 40 คน ได้รับการวินิจฉัยจากจิตแพทย์ที่มารับบริการต่อเนื่องแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลแปลงยาว และคัดเลือกกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 20 คน กลุ่มทดลองได้รับการดูแลตามโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคม และได้รับการตรวจความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณจำนวน 5 ท่าน กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาไต้แก่ 1. แบบวัดความเศร้าในผู้สูงอายุไทย (TGDS) และ 2. แบบวัดการสนับสนุนทางสังคม มีค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคเท่ากับ 0.87 และ 0.87 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดย สถิติเชิงพรรณนา และสถิติทดสอบ Paired t- test ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุหลังได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมต่ำกว่าก่อนได้รับก่อนได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 2. ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุในกลุ่มทดลองต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | en |
dc.description.abstract | The purpose of this quasi-experimental study was to examine the effect of the social support program on depression of patients with major depressive disorder elderly. The sample include 40 persons, age 60 years and older, whose diagnosed by Psychiatrist with depressive disorder were recruited from the outpatient department in Phaengyao hospital, choosed the experimental group and the control group, 20 persons in each group. The experimental group recived on the program. The content validity by 5 experts. The instrument in this research were Thai Geriatric Depression Scale (TGDS) and The social support scale. The Cronbach's Alpha Coefficient reliability of the questionnaire was .83 and .87 respectively. Data were analyze by descriptive statics and Paired t- test The results were as follows : Depression of patients with major depressive disorder elderly group after on the social support program, experiment showed that lower depression before experiment the significantly.(p< .01) | en |
dc.language.iso | th | en |
dc.rights | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | en |
dc.subject | ความซึมเศร้าในวัยสูงอายุ | en |
dc.subject | Depression in old age | en |
dc.subject | การสนับสนุนทางสังคม | en |
dc.subject | Social Support | en |
dc.title | ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุ | en |
dc.title.alternative | The Effect of Social Support Program on Depression of Patients with Major Depressive Disorder Elderly | en |
dc.type | Proceeding Document | en |
Appears in Collections: | Public and Environmental Health - Proceeding Document |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Efect-of-Social-Support-Program-on-Depression-of-Patients.pdf | 3.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.