Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2488
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorYu, Kanying-
dc.contributor.authorพัชรินทร์ บูรณะกร-
dc.contributor.authorPatcharin Buranakorn-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts. Student of Bachelor of Liberal Arts.en
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Artsen
dc.date.accessioned2024-07-16T13:52:06Z-
dc.date.available2024-07-16T13:52:06Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2488-
dc.descriptionProceedings of the 7th National and International Conference on "Research to Serve Society", 12 July 2019 at Huachiew Chalermprakiet University, Bangphli District, Samutprakarn, Thailand. p. 1296-1305.en
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง ภาพสะท้อนสังคมไทยในรวมเรื่องสั้นที่ได้รับรางวัลของจำลอง ฝั่งชลจิตร มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ภาพสะท้อนสังคมไทยในรวมเรื่องสั้นที่ได้รับรางวัลของจำลอง ฝั่งชลจิตร ขอบเขตงานวิจัย คือ รวมเรื่องสั้นที่ได้รับรางวัลของจำลอง ฝั่งชลจิตร จำนวน 4 เล่ม รวม 48 เรื่อง ได้แก่ ลิกอร์ พวกเขาเปลี่ยนไป เรื่องบางเรื่องเหมาะที่จะเป็นเรื่องจริงมากกว่า เรื่อง ผม เล่า และเมือง บ้าน ผม โดยนำเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า ภาพสะท้อนสังคมไทยที่นักเขียนได้สะท้อนออกมาในรวมเรื่องสั้นที่ได้รับรางวัล มี 2 ด้าน ได้แก่ 1) ภาพวิถีชีวิตความเป็นอยู่ พบว่า ด้านที่อยู่อาศัยของคนไทยมีลักษณะเป็นบ้านหลังเดี่ยว ด้านการประกอบอาชีพมีความหลากหลาย ด้านจริยธรรมคนไทยมีน้ำใจและความกตัญญู 2) ภาพสะท้อนด้านวัฒนธรรม พบว่า ด้านอาหารไทยมีความหลากหลายของรสชาติ ด้านศาสนานับถือศาสนาพุทธเป็นหลัก ด้านประเพณีไทยที่พบ ได้แก่ ประเพณีเกี่ยวกับสังคม ประเพณีเกี่ยวกับชีวิต ประเพณีท้องถิ่น และประเพณีหลวง ด้านมารยาทไทย มารยาทการไหว้เป็นเอกลักษณ์ และเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของคนไทย ภาพสะท้อนสังคมดังกล่าวได้แสดงให้เห็นวิธีคิดของผู้เขียนเกี่ยวกับสังคมที่อยู่กึ่งกลางระหว่างสังคมแบบเดิมกับสังคมสมัยใหม่ที่กำลังเปลี่ยนแปลงไปโดยยอมรับการเปลี่ยนแปลงของสังคมได้เป็นอย่างตี ซึ่งแนวคิดนี้สัมพันธ์กับช่วงเวลาในยุคสมัยที่การเปลี่ยนแปลงทางสังคมเป็นไปอย่างรวดเร็วมากขึ้นen
dc.description.abstractThis research aimed to analyze four awarded books of Collections of Chamlang Fungcholijitr's Short Stories, which are Ligor: They Were Changed; Some Stories Seered Very True; The Stories I told; and My Hometown. Forty-eight stories were studied. The findings were reported as a descriptive analysis. The research findings could be sorted into two aspects, including 1) reflections about living and 2) reflections of culture. Relating to the living, the stories reflected that Thai people lived in single houses, did various jobs, and valued compassion and gratitude. Regarding the culture, the tasteful Thai food was presented; Buddhism is the major religion; and many Thai traditions were mentioned, such as social traditions dealing with lives, local traditions, and royal traditions. Dealing with Thai etiquette, the Thai way of paying respect, Whai, is rendered as Thai heritage and identity. Both aspects of reflections of the writer showed his ideas in the time of the changing society, from traditional to modern, which he well accepted this fast changing period.en
dc.language.isothen
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.subjectจำลอง ฝั่งชลจิตร -- แนวการเขียนen
dc.subjectChamlong Fungcholjitr -- Literary styleen
dc.subjectเรื่องสั้นไทยen
dc.subjectShort stories, Thaien
dc.subjectไทย -- ภาวะสังคมen
dc.subjectThailand -- Social conditionsen
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาen
dc.subjectContent analysis (Communication)en
dc.titleภาพสะท้อนสังคมไทยในรวมเรื่องสั้นที่ได้รับรางวัลของจำลอง ฝั่งชลจิตรen
dc.title.alternativeReflections of Thai Society in Awarded Short Stories of Chamlong Fungcholjitren
dc.typeProceeding Documenten
Appears in Collections:Liberal Arts - Proceeding Document

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Reflections-of-Thai-Society-in-Awarded-Short-Stories.pdf3.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.