Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2615
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorณัฐนันท์ โล่สุวรรณรักษ์-
dc.contributor.authorชัญญาพัชญ์ อภิวัชร์สุวรรณ-
dc.contributor.authorอรญา เลิศวิไลรัตนพงศ์-
dc.contributor.authorณัฐจริยา นาคะยืนยงสุข-
dc.contributor.authorNattanan Losuwannarak-
dc.contributor.authorChanyapat Aphiwatsuwan-
dc.contributor.authorOraya Lertwilairatanaphong-
dc.contributor.authorNatchariya Nakhayuenyongsuk-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciencesen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences. Student of Bachelor of Pharmaceutical Sciencesen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences. Student of Bachelor of Pharmaceutical Sciencesen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences. Student of Bachelor of Pharmaceutical Sciencesen
dc.date.accessioned2024-08-18T08:33:46Z-
dc.date.available2024-08-18T08:33:46Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2615-
dc.descriptionProceedings of the 9th National and International Conference on "Research to Serve Society", 1st July 2022 at Huachiew Chalermprakiet University, Bangphli District, Samutprakarn, Thailand. (e-Conference) p. 1004-1016.en
dc.description.abstractโรคหลอดเลือดสมองเป็นโรคที่เป็นสาเหตุอันดับ 2 ของการเสียชีวิตของประชากรไทยและประชากรโลก การมีความรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพที่นำไปสู่การป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง ความรู้ของบุคลากรในมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ (มฉก.) เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง จึงน่าจะมีความสำคัญต่อการลดความเสี่ยงการเกิดโรคหลอดเลือดสมองของบุคลากรได้ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้เรื่องโรคหลอดเลือดสมองของบุคลากร มฉก. ในด้านอาการเตือนของโรคหลอดเลือดสมอง ด้านปัจจัยเสี่ยงและการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง และด้านการปฏิบัติตนเมื่อเกิดโรคของโรคหลอดเลือดสมอง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล แบบสอบถามประกอบด้วยคำถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลจำนวน 9 ข้อ และคำถามด้านความรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองจำนวน 22 ข้อ โดยเนื้อหาของคำถามถูกดัดแปลงมาจากแบบสอบถามก่อนหน้าของอิทธิพงฒ์ ศรีธรวรรณกูล (2557) น้อมจิตต์ นวลเนตร์ (255) นิรมล วงษ์ดี (2563) และกาญจนศรี สิงห์ภู่ (2552) และผ่านการทดสอบความเที่ยง (IOC) การเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามทำผ่านการเวียนอีเมล์ไปยังหน่วยงานด้วยแบบสอบถามที่เป็น google form และการฝากเวียนแบบสอบถามที่เป็นกระดาษผ่านเลขานุการของหน่วยงาน กลุ่มประชากรเป้าหมายคือบุคลากร มฉก. ทั้งหมดซึ่งมี 900 คน เก็บข้อมูลในระหว่างเดือน มกราคม ถึง กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ข้อมูลจากแบบสอบถามถูกนำมาวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนาและนำเสนอเป็นจำนวนความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เรื่องโรคหลอดเลือดสมองของบุคลากรในมหาวิทยาลัยอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย คะแนน +- ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 18.3 +- 2.8 คะแนน จากคะแนนเต็ม 22 คะแนน ซึ่งจัดเป็นความรู้ระดับ “มาก” คะแนนสูงสุด คือ 22 คะแนน และคะแนนต่ำสุด คือ 5 คะแนน เมื่อวิเคราะห์ผลแบบสอบถามรายข้อพบว่าประเด็นความรู้ที่มีจำนวนข้อที่ตอบผิดมากที่สุด คือ ความรู้ด้านปัจจัยเสี่ยงและการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง ประเด็นความรู้ที่มีจำนวนข้อที่ตอบผิดรองลงมาคือ ด้านการปฏิบัติตนเมื่อเกิดโรคหลอดเลือดสมอง สรุปได้ว่า บุคลากรส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองดีมาก แต่ยังมีความเข้าใจผิดหลายประการในเรื่องปัจจัยเสี่ยงและการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง รวมถึงการปฏิบัติตัวเมือเกิดอาการ จึงควรเสริมความรู้ให้บุคลากรในประเด็นต่างๆ ดังกล่าวในอนาคตen
dc.description.abstractStroke is the disease, which secondly causes to death between Thai population and world populations. Having knowledge about stroke associated with healthy behaviors, leading to stroke prevention. Therefore, the knowledge of stroke at Huachiew Chalermprakiet University (HCU) would be important to reduce the risk of stroke for personnel. This study focuses survey on collect data about health knowledge for HCU personnel in terms of warning symptoms of stroke, stroke risk factors, preventive behaviors for stroke, and appropriate practice on stroke attack. The questionnaire will be used as data collection tool, which consists with 9 items of personal cases, and 22 items of knowledge about stroke. The questions about stroke are modified from previous studies of Sritharawankul (2014), Nualnet (2012), Wongdee (2020), and Singpoo (2009) and are tested for validity of content, which uses Item-Objective Congruence (IOC) index. The online questionnaires were prepared in google form, and endorsed vis email, while the questionnaires could be endorsed in some departments. We surveyed by collecting 900 cases of HCU personnel, between January and February 2022. Data was analyzed by descriptive statistics, which would be presented as frequency, percentage, and means +- standard deviation (SD). The result showed that the average score was 18.3 +- 2.8, which was graded as “high-level of knowledge”. The highest score is 22, while lowest score is 5. According to the knowledge categories, almost misunderstanding issues were about “stroke risk factors and stroke prevention”, followed by “appropriate practice on stroke attack”. That might be concluded that majority of the HCU personnel have very good knowledge about stroke. However, there is still misunderstanding about risk factors and prevention of stroke, and the action to be taken when stroke attack. Therefore, HCU personnel should be informed the correct information in the future.en
dc.language.isothen
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.subjectโรคหลอดเลือดสมองen
dc.subjectCerebrovascular diseaseen
dc.subjectความรอบรู้ทางสุขภาพen
dc.subjectHealth literacyen
dc.subjectมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ -- พนักงานen
dc.subjectHuachiew Chalermprakiet University -- Employeesen
dc.titleความรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองของบุคลากรในมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.title.alternativeKnowledge about Stroke among Personnel in Huachiew Chalermprakiet Universityen
dc.typeProceeding Documenten
Appears in Collections:Pharmaceutical Sciences - Proceeding Document

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Knowledge-About-Stroke.pdf618.1 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.