Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2619
Title: ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความเครียดในการเรียนออนไลน์ของนักศึกษาหลักสูตรอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
Other Titles: Factors Related To Stress In Online Learning Among Occupational Health And Safety Program Students
Authors: นฤมล ฆารพันธุ์
พรพิมล เชวงศักดิ์โสภาคย์
สุชานาถ นกเขา
สโรชา ราษฎร์กฐิน
ศุภางค์ ไชยนาม
ณัฐวุฒิ ทองลอย
Naruemon Kharaphan
Pornpimol Chawengsaksopark
Suchanat Nokkao
Sarocha Rachkathin
Supang Chainam
Nutthawut Thongloi
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Health.
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Health.
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Health.
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Health.
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Health.
Keywords: ความเครียด (จิตวิทยา)
Stress (Psychology)
ความเครียดในวัยรุ่น
Stress in adolescence
การเรียนการสอนผ่านเว็บ
Web-based instruction
การเรียนรู้ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม -- นักศึกษา
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health -- Students
Issue Date: 2022
Abstract: การวิจัยเชิงพรรณนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินระดับความเครียดในการเรียนออนไลน์ของนักศึกษาหลักสูตรอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วน บุคคล สิ่งแวดล้อม และสังคม กับระดับความเครียดของนักศึกษาหลักสูตรอาชีวอนามัยและความปลอดภัย กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1-4 หลักสูตรอาชีวอนามัย จำนวน 98 คน ทำการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามผ่านระบบออนไลน์ ซึ่งผ่านการตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญและมีค่าความเชื่อมั่น 0.96 เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ปัจจัยด้านสังคม และแบบสอบถามวัดระดับความเครียด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติ ไคว์สแควร์ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 82.65 ส่วนใหญ่มีผลการเรียน 2.51-3.00 คิดเป็นร้อยละ 34.69 ส่วนใหญ่อยู่ในระดับชั้นปีที่ 4 คิดเป็นร้อยละ 36.73 นักศึกษาส่วนใหญ่มีการใช้เครื่องมือสื่อสารในการเรียนออนไลน์ เป็น IPAD &Tablet คิดเป็นร้อยละ 80.6 ส่วนใหญ่รายได้ที่นักศึกษาได้รับเฉลี่ย 1,000 -5,000 บาท/เดือน คิดเป็นร้อยละ 60.20 นักศึกษาส่วนใหญ่มีรายจ่ายในการซื้อบริการอินเตอร์เน็ตน้อยกว่า 500 บาท/ เดือน คิดเป็นร้อยละ 59.18 นักศึกษาส่วนใหญ่มีค่าใช้จ่ายในการซื้ออุปกรณ์ 10,000 - 30,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 61.24 และนักศึกษาส่วนใหญ่มีการใช้เครือข่ายสัญญาณอินเตอร์เน็ต True Move คิดเป็นร้อยละ 32.2 ปัจจัย ด้านสิ่งแวดล้อมในการเรียน ส่งผลต่อการเรียนออนไลน์ของนักศึกษาในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ย xˉ 2.33 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) 0.487 ปัจจัยด้านสังคมความคาดหวังของผู้ปกครอง ส่งผลต่อการเรียนออนไลน์ของนักศึกษาในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ย xˉ 1.73 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) 0.694 นักศึกษาที่เรียนออนไลน์หลักสูตรอาชีวอนามัยและความปลอดภัยมีความเครียด อยู่ในระดับสูง มีค่าเฉลี่ย xˉ 40.44 ปัจจัยส่วนบุคคลไม่มีความสัมพันธ์กับระดับความเครียดในการเรียนออนไลน์ของนักศึกษาหลักสูตรอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์ต่อระดับความเครียดในการเรียนออนไลน์ของนักศึกษาหลักสูตรอาชีวอนามัยและความปลอดภัย p-value < 0.001 ปัจจัยด้านสังคมความคาดหวังของผู้ปกครอง มีความสัมพันธ์ต่อระดับความเครียดในการเรียนออนไลน์ของนักศึกษาหลักสูตอาชีวอนามัยและความปลอดภัย p-value < 0.001
The purposes of this descriptive research study were to assess the stress level of online learning among Occupational Health and Safety Program students and study the relationship between personal factors, environmental factors , social factors and stress levels of Occupational Health and Safety Program students. The sample consisted of 98 students in Year 1-4 in the Occupational Health Program. Data were collected by using questionnaires online which had been verify by experts and had confidence value of 0.96. The research tools consisted of questionnaires on personal factors, environmental factors, social factors and the stress level questionnaires. Data were analyzed using descriptive statistics and chi square. The results showed the majority of the samples were female (82.65%), with 2.51-3.00 GPAX (34.69%), mostly in year 4 (36.73%) , 80.6% students used communication tools in online learning by IPAD&Tablet, 60.20% accounted of the income that students earned on average 1,000 -5,000 baht/month and 59.18% students spent less than 500 baht/month in purchasing internet services and the most students used the True Move internet network (32.2%). The data on environmental factors affecting students' online learning were at moderate level with a mean of xˉ 2.33 ,standard deviation (SD) 0.487 and Social factor data affecting students' online learning at moderate level with an average of xˉ 1.73, standard deviation (SD) 0.694. and Occupational Health and Safety Program students had a high level of stress average of xˉ 40.44 , Personal factors were not correlate with the stress level of online learning among occupational health and safety students. Environmental factors were related to the stress level of online learning among Occupational Health and Safety program students p-value < 0.001, Social factors and parents' expectations were related to the stress level in online learning among Occupational Health and Safety Program students p-value < 0.001.
Description: Proceedings of the 9th National and International Conference on "Research to Serve Society", 1st July 2022 at Huachiew Chalermprakiet University, Bangphli District, Samutprakarn, Thailand. (e-Conference) p. 878-892.
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2619
Appears in Collections:Public and Environmental Health - Proceeding Document

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Factors-Related-To-Stress-In-Online-Learning.pdf565.23 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.