Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2678
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อรนรินทร์ | - |
dc.contributor.author | อิมธิรา อ่อนคำ | - |
dc.contributor.author | Liao Caichun | - |
dc.contributor.author | Imthira Onkam | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts. Student of Master of Liberal Arts. | en |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts | en |
dc.date.accessioned | 2024-08-25T02:11:53Z | - |
dc.date.available | 2024-08-25T02:11:53Z | - |
dc.date.issued | 2021 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2678 | - |
dc.description | รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ โครงการประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการและวัฒนธรรม 4 สถาบันการศึกษา หัวข้อ "ภาษาและวัฒนธรรมไทยในวิถีโลกใหม่" ครั้งที่ 3 (Proceeding Report of Thai Language and Culture Network 3th)) วันที่ 16 ธันวาคม 2564 : หน้า 457-478. สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่: http://www.hurujournal.ru.ac.th/journals/30_1656649509.pdf บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ “ความเชื่อและพิธีกรรมของศาลเจ้าพ่อพระเพลิงในสังคมไทย: กรณีศึกษาฝั่งธนบุรี” หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ สามารถเข้าถึงวิทยานิพนธ์ฉบับเต็มได้ที่ https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/763 | en |
dc.description.abstract | บทความวิจัยเรื่อง ความเชื่อและพิธีกรรมของศาลเจ้าพ่อพระเพลิงในสังคมไทย: กรณีศึกษา ฝั่งธนบุรีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเชื่อและพิธีกรรมของศาลเจ้าพ่อพระเพลิงในเขตธนบุรี ผู้วิจัยใช้วิธีเก็บข้อมูลจากเอกสาร ข้อมูลภาคสนาม การสังเกตแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกกับกลุ่มตัวอย่างในศาลเจ้าพ่อพระเพลิงย่านบุคคโล และ ย่านตลาดพลูจำนวน 30 คน และนำเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า ศาลเจ้าพ่อพระเพลิงย่านบุคคโลเป็นศาลเจ้าที่มีอายุมากกว่า 90 ปีและได้ อัญเชิญรูปเคารพมาจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ส่วนศาลเจ้าพ่อพระเพลิงย่านตลาดพลูถูกสร้างขึ้น โดยชาวบ้านและได้อัญเชิญรูปเคารพเจ้าพ่อพระเพลิงมาจากศาลเจ้าย่านบุคคโล ผู้ศรัทธาศาลเจ้า ทั้ง 2 แห่งนี้มีความเชื่อ 5 ประการคือ ความปลอดภัย ความสำเร็จ สุขภาพ ครอบครัว และการ ขอบุตร โดยผู้ที่ศรัทธาต่อเจ้าพ่อพระเพลิงจะเข้าร่วมพิธีกรรมในรอบปีคือ พิธีเบิกเนตร วันไหว้- พระจันทร์เทศกาลกินเจ และงานแห่เจ้าพ่อพระเพลิง โดยผู้ที่ได้เข้าร่วมพิธีกรรมมีความเชื่อว่า สามารถขอพรจากเจ้าพ่อพระเพลิงโดยตรง ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ชุมชนทั้ง 2 แห่งยังคงสืบทอดความ เชื่อและจัดพิธีกรรมให้ยังคงอยู่ได้จนปัจจุบัน ถึงแม้ว่าสังคมจะเกิดการเปลี่ยนแปลงไปโดยปัจจัยด้าน ต่าง ๆ คือ ความเจริญของชุมชน เศรษฐกิจ สังคม และรวมถึงการเปลี่ยนกรรมการของศาลเจ้า อย่างไรก็ตาม ศาลเจ้าพ่อพระเพลิงทั้ง 2 แห่งนี้ก็ยังคงดำรงบทบาทหน้าที่ด้านจิตใจและสังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านวัฒนธรรม ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อไทย-จีน ในเขตธนบุรีได้เป็นอย่างดี | en |
dc.description.abstract | Research article titled Beliefs and Rituals of Chaophorphraphloeng Shrine in Thai Society: A Case Study of Thonburi Side aimed to study beliefs and Rituals of the Chaophorphraphloeng Shrine in Thonburi District. The researcher used the method of collecting data from documents, field data, participant and nonparticipant observation In-depth interviews were used from a sample group of 30 people in the Chaophorphraphloeng Shrine in Bukkhalo and Talatphlu areas, and presented the results by descriptive analysis. The results showed that the Chaophorphraphloeng Shrine in Bukkhalo area is more than 90 years old and brought idols from the People's Republic of China. The Chaophorphraphloeng Shrine in Talatphlu area was built by villagers and the idol of Chaophorphraphloengwas brought from the Shrine of Bukkhalo area. The believers of these two shrines had 5 beliefs: safety, success, health, family and child support. Those who believed in the Chaophorphraphloeng will participated in the ritual of the year : eye opening ceremony, moon worship day, Vegetarian Festival and The Chaophorphraphloeng Parade. Those who participated in the ritual believed that they could ask for blessings directly from the Chaophorphraphloeng. For this reason, the two communities continued to carry on their beliefs and held rituals to this day. Although society has changed by various factors, namely: community, economy, society and including the change of directors of the shrine. However, these two shrines still maintain their roles in mental and social, economic and cultural roles, which reflected Thai-Chinese belief culture in the Thonburi area as well. | en |
dc.language.iso | th | en |
dc.rights | เครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการและวัฒนธรรม 4 สถาบันการศึกษา | en |
dc.subject | ศาลเจ้าพ่อพระเพลิง (กรุงเทพฯ) | en |
dc.subject | Chaophorphraphloeng Shrine (Bangkok) | en |
dc.subject | ความเชื่อ | en |
dc.subject | Belief and doubt | en |
dc.subject | ศาลเจ้า -- ไทย -- กรุงเทพฯ | en |
dc.subject | Shrines -- Thailand -- Bangkok | en |
dc.subject | ชาวจีน -- ไทย -- ความเป็นอยู่และประเพณี | en |
dc.subject | Chinese -- Thailand -- Social life and customs | en |
dc.title | ความเชื่อและพิธีกรรมของศาลเจ้าพ่อพระเพลิงในสังคมไทย: กรณีศึกษาฝั่งธนบุรี | en |
dc.title.alternative | Belief and Ritual of Chaophorphraphloeng Shrine in Thai Society: A Case Study of Thonburi Side | en |
dc.type | Proceeding Document | en |
Appears in Collections: | Liberal Arts - Proceeding Document |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Belief-and-Ritual-of-Chaophorphraphloeng-Shrine.pdf | 99.91 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.