Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/269
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิทธิโชค สินรัตน์-
dc.contributor.advisorSittichok Sinrat-
dc.contributor.authorพีรญา ทศชัยวรรณ-
dc.contributor.authorPyraya Toschaiwan-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.date.accessioned2022-05-10T14:38:18Z-
dc.date.available2022-05-10T14:38:18Z-
dc.date.issued2020-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/269-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กจ.ม) (การจัดการอุตสาหกรรม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2563.th
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการจัดการความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อและผู้จัดหาในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ และเพื่อเปรียบเทียบการจัดการความสัมพันธ์โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ โดยขอบเขตและกลุ่มตัวอย่างของงานวิจัยนี้เป็นผู้บริหารในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ซึ่งเครื่องมือการวิจัยคือแบบสอบถาม และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เพื่อหาระดับเปรียบเทียบการจัดการความสัมพันธ์ โดยใช้สถิติพรรณนาในการวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่าการจัดการความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อและผู้จัดหาคือ การสื่อสารที่ถูกให้ความสำคัญมากที่สุด โดยเฉพาะด้านช่องทางการสื่อสาร ช่องทางการสื่อสารที่ไม่หลากหลายเป็นอุปสรรคในการจัดการความสัมพันธ์ ด้านความไว้วางใจส่วนบุคคล เป็นการจัดการความสัมพันธ์เชิงธุรกิจในฝั่งตะวันออก ด้านพันธสัญญามีการจัดการความสัมพันธ์โดยการแบ่งปันข้อมูลทางธุรกิจกันอย่างเปิดเผย ด้านการร่วมมือกันในการลดต้นุทนเพื่อผลประโยชน์ร่วมกันมากกว่า ด้านความสัมพันธ์ส่วนบุคคลเครือข่ายสังคมถือเป็นส่วนที่ได้รับความสำคัญมากที่สุด และด้านการพึ่งพาอำนาจจะให้ความสำคัญกับอำนาจจากความเชี่ยวชาญ การจัดการความสัมพันธ์ทั้งหมดล้วนสามารถนำไปใชสำหรับการพัฒนากลยุทธ์การจัดการความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อและผู้จัดหาได้th
dc.description.abstractThe research objective is to study the level of relationship management between buyers and suppliers in the auto parts manufacturing inductry and to compare relationship management by individual factors. This research is a quantitative study. The scope and sample of this research are executives in the automotive parts industry. The research tool is questionnaire and the data were analyzed to determine the level of relationship management by using descriptive statistics such as Mean and Standard Deviation. The research found there are several strategies affecting relationship between buyers and suppliers. The most important strategy is a communication strategy especially communication channel. Lack of communication channel will increase difficuly for relationship management. Personal trust seems important on the Eastern businesses. Respondents have pointed out transaction commitment to be the most important between organizations. Respondents also pat attention on corporation factor. It showed the business work on cost reduction.Personal relationship strategy is the most important part and expertist power tend to have less attention from respondents. These relationship management strategies can be used for developing a buyer-supplier relationship management strategy.th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectอุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์th
dc.subjectAutomobile supplies industryth
dc.subjectInterpersonal relationsth
dc.subjectความผูกพันth
dc.subjectCommitment (Psychology)th
dc.subjectความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลth
dc.subjectCooperationth
dc.subjectความร่วมมือth
dc.titleการจัดการความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อและผู้จัดหาในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์th
dc.title.alternativeRelationship Management between Buyers and Suppliers in the Automotive Parts Industryth
dc.typeThesisth
dc.degree.nameการจัดการมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineการจัดการอุตสาหกรรมth
Appears in Collections:Business Administration - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PYRAYA-TOSCHAIWAN.pdf
  Restricted Access
2.3 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.