Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2819
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอัญชลี ชุ่มบัวทอง-
dc.contributor.authorวิจิตร ชะโลปถัมภ์-
dc.contributor.authorพิชญา ทองอยู่เย็น-
dc.contributor.authorศรายุทธ โชคชัยวรรัตน์-
dc.contributor.authorกันตภณ ธรรมวัฒนา-
dc.contributor.authorบังอร ฉางทรัพย์-
dc.contributor.authorพูลพงศ์ สุขสว่าง-
dc.contributor.authorAnchalee Choombuathong-
dc.contributor.authorWijit Chalopatham-
dc.contributor.authorPichaya Dhongyooyen-
dc.contributor.authorSarayuth Chokchaiworrarat-
dc.contributor.authorKantapol Thamwattana-
dc.contributor.authorBangon Changsap-
dc.contributor.authorPoonpong Suksawang-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technologyen
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Prasarnmit Demonstration School (Elementary)en
dc.contributor.otherSripatum University at Chonburi. Office of Researchen
dc.contributor.otherBurapha Universityen
dc.contributor.otherPanyapiwat Institute of Management.en
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technologyen
dc.contributor.otherBurapha University. College of Research Methodology and Cognitive Scienceen
dc.date.accessioned2024-09-16T14:58:55Z-
dc.date.available2024-09-16T14:58:55Z-
dc.date.issued2015-
dc.identifier.citationวารสารวิชาการสาธารณสุข 24,5 (กันยายน-ตุลาคม 2558) : 833-843.en
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2819-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : https://thaidj.org/index.php/JHS/article/view/531/462en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพการนอนหลับของผู้สูงอายุ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการนอนหลับของผู้สูงอายุ และความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างคือผู้สูงอายุที่อยู่ในศูนย์พัฒนาการจัด-สวัสดิการสังคมผู้สูงอายุบ้านบางละมุง อําเภอบางละมุง ชลบุรี ทั้งเพศชายและเพศหญิง จํานวน 72 คน ในระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงสิงหาคม 2556 และใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบประเมินคุณภาพการนอนหลับ แบบประเมินปัจจัยที่รบกวนการนอนหลับและแบบวัดความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองสําหรับผู้สูงอายุ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 42.7 มีคุณภาพการนอนหลับดี และร้อยละ 57.1 มีคุณภาพการนอนหลับที่ไม่ดี เพศและอายุไม่ได้ส่งผลต่อคุณภาพการนอนหลับ ปัจจัยที่รบกวนการนอนหลับและพยากรณ์คุณภาพการนอนหลับอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติระดับ 0.001 ของกลุ่มตัวอย่างมากที่สุดคือความเจ็บปวด และความสูงอายุ โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์ได้ร้อยละ 23.7 กลุ่มตัวอย่างมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองเฉลี่ย 29.87± 4.2 ซึ่งเป็นคะแนนในระดับที่ค่อนข้างสูง เพศ ระดับอายุและระดับการศึกษาไม่ได้ส่งผลต่อความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ผลการวิจัยในครั้งนี้ เป็นข้อมูลพื้นฐานที่สามารถนําไปวางแผนการปรับปรุงคุณภาพการนอนหลับ จัดการกับปัจจัยที่รบกวนการนอนหลับ และส่งเสริมให้มีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองให้สูงขึ้นในผู้สูงอายุen
dc.description.abstractThe purpose of this study was to study the sleep quality, disturbing factors and self-esteem among the elderly. The research subjects consisted of 72 persons from Banglamung nursing home in Chonburi Province during June to August 2013 recruited through a purposive sampling. Data were collected by individual interview. The research instruments used were (1) a form of Sleep Quality Assessment which was a translated and modified from Pittsburgh Sleep Quality Index (PSQI), (2) a form to assess factors influencing sleep and (3) Rosenberg’s self-esteem scale. Data were analyzed using descriptive statistics in percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product moment correlation coefficient and stepwise multiple regression analysis. It was found that 42.86% of subjects had a good sleep quality and the remaining of them had a poor quality. Gender and age did not affect the quality of sleep. Factors significantly disturbing and predicting the sleep quality were pain and senility (p<0.001). These 2 predictors accounted for 23.7% of the variance. The subjects’ self-esteem mean score was 29.87±4.15, which was relatively high. Gender, age and education were not found to affect self-esteem. These findings provide preliminary information for health care plan in order to promote sleep quality, manage sleep disturbance and promote higher self-esteem score in the elderly.en
dc.language.isothen
dc.subjectการนอนหลับen
dc.subjectSleepen
dc.subjectการนอนหลับ – ปัจจัยเกี่ยวกับอายุen
dc.subjectSleep -- Age factorsen
dc.subjectผู้สูงอายุen
dc.subjectOlder peopleen
dc.subjectความภูมิใจแห่งตนในวัยสูงอายุen
dc.subjectSelf-esteem in old ageen
dc.subjectคุณภาพการนอนen
dc.subjectSleep qualityen
dc.titleคุณภาพการนอนหลับ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการนอนหลับและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุen
dc.title.alternativeSleep Quality and Factors Related to Sleep and Self-esteem in the Elderlyen
dc.typeArticleen
Appears in Collections:Science and Technology - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sleep-Quality.pdf85.13 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.