Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2831
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกนกกร แซ่จาง-
dc.contributor.authorเปรมรัตน์ พลูสวัสดิ์-
dc.contributor.authorPremrat Poolsawad-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology. Student of Bachalor of Science and Technologyen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technologyen
dc.date.accessioned2024-09-18T14:00:41Z-
dc.date.available2024-09-18T14:00:41Z-
dc.date.issued2013-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2831-
dc.descriptionรายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 1 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาคุณภาพขีวิต” (Proceedings of the 1st Academic Science and Technology Conference 2013 – ASTC 2013) วันที่ 18 มีนาคม 2556 ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ สุขุมวิท 11 กรุงเทพฯ : หน้า 210-213.en
dc.descriptionProceedings of the 1st Academic Science and Technology Conference ASTC2013 Science and Technology for Better Life - ASTC 2013, 18 March 2013 at Ambassador Hotel Bangkok, Sukhumvit Soi 11 : p. 210-213.en
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : https://drive.google.com/file/d/13XR0lQpwaWSjwh4EUZsioeX0N3KBvy-b/view?pli=1-
dc.description.abstractโครงงานวิจัยนี้พัฒนาขึ้นเพื่อตอบสนองการใช้งานของกลุ่มผู้ใช้ที่มีปัญหาทางด้านสุขภาพโดยได้ออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface) ตามหลักการออกแบบเว็บไซต์สำหรับคนพิการ ของ W3C (World Wide Web Consortium) ซึ่งเป็นแนวทางการออกแบบเว็บไซต์ที่ทุกคนเข้าถึงได้ เช่น การกำหนดรูปแบบและขนาดของตัวอักษร การออกแบบการเข้าถึงแต่ละหน้าเว็บภายในเว็บไซต์นั้น ๆ นอกจากนี้ ผู้วิจัย ยังได้นำคุณสมบัติของ OpenCV (Open Source Computer Vision) มาพัฒนาในส่วนของ Virtual Mouse และใช้งานร่วมกับ Virtual Keyboard เพื่อช่วยในการควบคุมอุปกรณ์เมาส์เป็นการเพิ่มทางเลือกให้แก่ผู้มีปัญหาในการใช้มือและแขนในการควบคุม ซึ่งผู้ใช้สามารถติดตั้ง Virtual Mouse และ Virtual Keyboard เพื่อใช้งานร่วมกับเว็บไซต์ได้ โดยผู้วิจัยได้เลือกใช้วัตถุสีแดงในการตรวจจับวัตถุ ( Object Detection ) และ ตรวจจับการเคลื่อนไหวของวัตถุ (Motion Detection) เนื่องจากเป็นโทนสีที่สามารถ ตรวจจับได้แม่นยำที่สุด โดยผลการประเมินในด้านของการออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้พบว่าผู้ใช้มีความพึงพอใจอย่างน้อยใน ระดับมากร้อยละ 85 และผลการทดลองในส่วนของ Virtual Mouse พบว่าการตรวจจับวัตถุสามารถตอบสนองการเคลื่อนไหวได้ดีกับวัตถุที่มีสีเดียวกันสม่ำเสมอ และไม่มีส่วนโค้งเว้าเนื่องจากแสงเงาจะทำให้ประสิทธิภาพการตรวจจับด้อยลง ผู้วิจัยได้พัฒนาส่วนของเว็บไซต์ขึ้นด้วยภาษา PHP ร่วมกับฐานข้อมูล MySQL และในส่วนของVirtual Mouse พัฒนาขึ้น ด้วยภาษา C++ ร่วมกับไลบรารีของ OpenCVen
dc.language.isothen
dc.rightsคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต, วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์en
dc.subjectเว็บไซต์ที่เข้าถึงได้สำหรับคนพิการen
dc.subjectAccessible Web sites for people with disabilitiesen
dc.subjectตัวเชื่อมประสานกับผู้ใช้ (ระบบคอมพิวเตอร์)en
dc.subjectUser interfaces (Computer systems)en
dc.subjectโอเพนซอร์สซอฟต์แวร์en
dc.subjectOpen source softwareen
dc.titleเว็บไซต์ข้อมูลเพื่อสุขภาพที่รองรับการใช้งานของกลุ่มผู้ใช้ ที่ไม่สามารถใช้อุปกรณ์เมาส์ได้ด้วย OpenCVen
dc.typeProceeding Documenten
Appears in Collections:Science and Technology - Proceeding Document

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Accessible-Web-sites-for-people-with-disabilities.pdf90.67 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.