Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2896
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorณัฐวดี พระสว่าง-
dc.contributor.authorชนิตา สราญชื่น-
dc.contributor.authorภาสินี สงวนสิทธิ์-
dc.contributor.authorNattawadee Prasawang-
dc.contributor.authorChanita Sarpanches-
dc.contributor.authorPasinee Sanguansit-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology. Student of Bachalor of Science and Technologyen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology. Student of Bachalor of Science and Technologyen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technologyen
dc.date.accessioned2024-09-25T12:59:07Z-
dc.date.available2024-09-25T12:59:07Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2896-
dc.descriptionการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 6 “วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ก้าวตามศาสตร์พระราชา สู่การพัฒนาชาติอย่างยั่งยืน” (The 6th Academic Science and Technology Conference 2018 : Science, Technology and Innovation: Following the Wisdom of the King for Sustainable National Development) วันพุธที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ (พื้นที่ส่วนขยาย มฉก. 2) : หน้า HS-157 – HS-162en
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : https://drive.google.com/file/d/1zVB-vqbNqfTqr-ZYUmiY8wS2uN1amtOy/viewen
dc.description.abstractการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบประสิทธิภาพของน้ำมันถั่วลิสงในการใช้เป็น clearing agent ในขั้นตอนการเตรียมชิ้นเนื้อจากร่างอาจารย์ใหญ่จำนวน 10 ร่าง ทดแทนการใช้ไซลีน โดยศึกษาลักษณะเนื้อเยื่อจากอวัยวะที่เป็นตัวแทนเนื้อเยื่อพื้นฐาน 4 ชนิด ได้แก่ เนื้อเยื่อบุผิว เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ และเนื้อเยื่อประสาท มาทดสอบในขั้นตอน clearing โดยการใช้ clearing agents ที่แตกต่างกันคือไซลีนและน้ำมันถั่วลิสงและทำการเปรียบเทียบลักษณะทางกายภาพและจุลกายวิภาคของเนื้อเยื่อ (histology) ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ผลที่ได้แสดงให้เห็นว่าการใช้น้ำมันถั่วลิสงในการ clearing สามารถช่วยรักษาลักษณะทางกายภาพ ทางจุลกายวิภาคของเนื้อเยื่อ และการติดสีของชิ้นเนื้อได้ ดังนั้นน้ำมันถั่วลิสงสามารถเป็นตัวแทน clearing agent จากธรรมชาติที่ใช้ทดแทนไซลีนได้โดยที่ไม่เป็นอันตรายen
dc.description.abstractThe aim of study was to compare the efficacy of groundnut oil and xylene as a clearing agent with basic tissue of cadaver. All of ten bodies had been study tissue characteristics of four basic tissues (epithelial tissues, connective tissue, muscle tissue and nervous tissue). The xylene-treated specimens and groundnut oil– treated specimens were checked for gross and histological features. The comparison was done between two groups. The groundnut oil-treated specimens group had showed similar details as seen in the xylene-treated specimens group. Therefore, it has been concluded that groundnut oil can be a natural clearing agent that can replace xylene without harmingen
dc.language.isothen
dc.rightsคณะกรรมการจัดงานประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 6en
dc.subjectไซลีนen
dc.subjectXyleneen
dc.subjectศพen
dc.subjectCadaveren
dc.subjectน้ำมันถั่วลิสงen
dc.subjectGroundnut Oilen
dc.subjectเนื้อเยื่อen
dc.subjectTissuesen
dc.titleการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของน้ำมันถั่วลิสงและไซลีนในการเป็น clearing agent โดยศึกษาในเนื้อเยื่อพื้นฐานจากร่างอาจารย์ใหญ่en
dc.title.alternativeComparing the Efficacy of Groundnut Oil and Xylene as a Clearing Agent with Basic Tissue of Cadaveren
dc.typeProceeding Documenten
Appears in Collections:Science and Technology - Proceeding Document

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Comparing-the-Efficacy-of-Groundnut-Oil-and-Xylene-as-a-Clearing-Agent .pdf117.98 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.