Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/290
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทิพาภรณ์ โพธิ์ถวิล-
dc.contributor.advisorThipaporn Phothithawil-
dc.contributor.authorหทัยรัฐณ์ วารินทร์-
dc.contributor.authorHatairat Warin-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare-
dc.date.accessioned2022-05-13T08:43:06Z-
dc.date.available2022-05-13T08:43:06Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/290-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ปร.ด.) (การบริหารสวัสดิการสังคม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2561th
dc.description.abstractการวิจัยระบบการดูแลผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคสมองเสื่อมในประเทศไทย เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์ผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคสมองเสื่อมในประเทศไทย การดูแลผู้ป่วยด้วยโรคสมองเสื่อม ปัญหาการดูแลในปัจจุบัน และพัฒนาแนวทาางการดูแลผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคสมองเสื่อมในประเทศไทยที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ผลการวิจัย พบว่าผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคสมองเสื่อมพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย การเข้าถึงบริการทางการแพทย์ล่าช้า ไม่มีการคัดกรองภาวะสมองเสื่อมในชุมชน ผู้ดูแลต้องลาออกจากงานเพื่อมาดูผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคสมองเสื่อมโดยเฉพาะ มิติในการดูแลในประเทศไทย คือ มีการดูแลแบบมีโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง รูปแบบในการดูแลมี 3 แบบ คือ การดูแลโดยสมาชิกในครอบครัว การดูแลโดยชุมชน และการดูแลโดยหน่วยงาน จากผลการวิจัยดังกล่าว ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะต่อแนวทางในการดูแลผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคสมองเสื่อมในประเทศไทยที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 5 ประการคือ 1) กำหนดให้การดูแลผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคสมองเสื่อมเป็นนโยบายระดับชาติ 2) รณรงค์ให้สังคมเกิดความตระหนักในเรื่องโรคสมองเสื่อม 3) มีการจัดทำฐานข้อมูลผู้สูงอายุด้วยโรคสมองเสื่อมอย่างเป็นระบบ 4) จัดตั้งศูนย์บริการทางสังคมสำหรับผู้ป่วยสูงอายุด้วยโรคสมองเสื่อม และ 5) จัดตั้งกลุ่มผู้ดูแลอายุป่วยด้วยโรคสมองเสื่อมในชุมชนth
dc.description.abstractThe research methodology on Care System for Elderly with Dementia in Thailand utilized a mixed method. The research objectives were to study and analyze the situation of elderly individuals with dementia in Thailand, with attention to the care system, current care problems and development of future care systems. The research revealed that many elderly individuals with dementia are female. Access to medical services was hindered by delays in care and lack of dementia screening in many communities. In many instances, caregivers needed to retired fromwork in order to take care of elderly family members with dementia. Care systems for elderly individuals with dementia included home care, community care and institutional care. Based on the finding, the researcher has made five recommendations for the care system elderly with dementia in Thailand: 1) make the development of a care system for elderly with dementia as a national policy initiative 2) campaign to raise awarenwess of dementia 3) systemize a database of elderly with dementia 4) establish a social service center for elderly individuals with dementia and 5) set up groups for caregivers in communities.th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectภาวะสมองเสื่อม -- ผู้ป่วย -- การดูแลth
dc.subjectDementia -- Patient -- Careth
dc.subjectOlder peopleth
dc.subjectวัยสูงอายุth
dc.subjectผู้สูงอายุth
dc.subjectAgingth
dc.subjectผู้ดูแลผู้สูงอายุth
dc.subjectOlder caregiversth
dc.titleระบบการดูแลผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคสมองเสื่อมในประเทศไทยth
dc.title.alternativeCare System for Elderly with Dementia in Thailandth
dc.typeThesisth
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาเอกth
dc.degree.disciplineการบริหารสวัสดิการสังคมth
Appears in Collections:Social Work and Social Welfare - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
HATAIRAT-WARIN.pdf21.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.