Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2947
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorณฐมน สีธิแก้ว-
dc.contributor.authorพิชิตพล โชติกุลนันท์-
dc.contributor.authorจริยา ทรัพย์เรือง-
dc.contributor.authorNathamon Seethikaew-
dc.contributor.authorPhichitphon Chotikunnan-
dc.contributor.authorJariya Supruang-
dc.contributor.otherMaefahluang University. School of Nursingen
dc.contributor.otherRangsit University. College of Biomedical Engineeringen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingen
dc.date.accessioned2024-09-29T06:19:02Z-
dc.date.available2024-09-29T06:19:02Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.citationวารสารพยาบาลทหารบก 23, 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2565) : 418-428.en
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2947-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JRTAN/article/view/250381/174830en
dc.description.abstractการวิจัยเพื่อพัฒนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนานวัตกรรมเครื่องสั่นสะเทือนปอดหรับผู้ป่สำวยเด็กที่มีปัญหาในการระบายเสมหะและศึกษาความพึงพอใจและประเมินประคุณภาพนวัตกรรม การดำเนินการ นวัตกรรมเครื่องสั่นสะเทือนปอดสำหรับผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาในการระบายเสมหะ ประกอบด้วย 2 ระยะ ระยะที่ 1 การพัฒนานวัตกรรมเครื่องสั่นสะเทือนปอดในการระบายเสมหะ สำหรับผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาในการระบายเสมหะ ระยะที่ 2 ศึกษาความพึงพอใจและประเมินคุณภาพนวัตกรรมของผู้ปกครองที่มี ต่อ:เครื่องสั่นสะเทือนปอดในการระบายเสมหะสำหรับผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาในการระบายเสมหะ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ ผู้ปกครองที่มี เด็กอายุ 2 - 5 ปี ณ ชุมชนตำบลป่าแงะ อำเภอพาน จ.เชียงราย และทดลองใช้นวัตกรรม จำนวน 30 คน โดยใช้แบบสอบถามของ ความพึงพอใจ (IOC = 0.79 และ α = .80) และประเมินประคุณภาพนวัตกรรม (IOC = 0.80 และ α = .80) วิเคราะห์ข้อมูลโดย ใช้สถิติเชิงบรรยาย ผลการดำเนินงานพบว่า 1) นวัตกรรมเครื่องสั่นสะเทือนปอดในการระบายเสมหะสำหรับผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาใน การระบายเสมหะภายในประกอบด้วย มอเตอร์และวงจรควบคุมการสั่น 2 ฟังก์ชัน คือ ฟังก์ชันการสั่นสะเทือนแบบต่อเนื่องและ ฟังก์ชันการสั่นสะเทือนแบบสั่นและหยุดเป็นช่วงเวลา พร้อมคู่มือการใช้นวัตกรรม และ 2) ระดับความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับมากที่สุด ( = 3.54 - 3.80, SD = 0.50 - 0.70) และระดับการประเมินคุณภาพของนวัตกรรมอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 3.65 - 3.75, SD = 0.60 - 0.70) นอกจากนี้แนวทางพัฒนานวัตกรรมต่อไป คือการนำผลการใช้นวัตกรรมเครื่องสั่นสะเทือน ปอดที่มีปัญหาในการระบายเสมหะไปใช้กับเด็กทีมีปัญหาการคั่งค้างของเสมหะในจำนวนที่มากขึ้น และเปรียบเทียบกับการระบาย เสมหะวิธีอื่น ๆ เพื่อการประเมินนวัตกรรมให้มีประสิทธิภาพต่อไปen
dc.description.abstractThe purposes of this research were to develop an innovative vibrate for drainage secretion of pediatric patients and study satisfaction and quality assessment of the innovation. A process of an innovative vibrate for drainage secretion of pediatric patients consisted of two parts. The first one was the process of developing an innovative vibrate for drainage secretion of pediatric patients and The second one was study of satisfaction and quality assessment of the innovation among caregivers. Samples were 30 caregivers who had child 2-5 years at Pa Ngae community, Pa Ngae sub-district, Pa Daet district, Chiang Rai Province and welcome to use the innovation. They respond a questionnaire including satisfaction (IOC =0.79 and α = .80) and quality assessment of the innovation (IOC =0.80 and α = .80). Data analysis was descriptive statistics. The results showed 1) innovative vibrate for drainage secretion of pediatric patients and 2)means of satisfaction and of quality assessment of the innovation. The study showed the development of an innovative vibrate for drainage secretion of pediatric patients innovation included instruction and motor and control of vibration system. Means of satisfaction were much more ( = 3.54 - 3.80, SD = 0.50 - 0.70) and means of quality assessment of the innovation were also much more ( = 3.65 - 3.75, SD = 0.60 - 0.70). Therefore, the development of an innovative vibrate for drainage secretion of pediatric patients is appropriate for use. For future study, the development of an innovative vibrate for drainage secretion of pediatric patients should be used with more number of pediatric patients with secretion obstruction and compare with other innovative vibrators to assess the effectiveness.en
dc.language.isothen
dc.subjectเครื่องสั่นสะเทือนปอดen
dc.subjectChest vibratoren
dc.subjectทางเดินหายใจติดเชื้อในเด็กen
dc.subjectRespiratory infections in childrenen
dc.subjectโรคทางเดินหายใจในเด็กen
dc.subjectPediatric respiratory diseasesen
dc.subjectเสมหะen
dc.subjectSputumen
dc.subjectการระบายเสมหะen
dc.subjectDrainage secretionen
dc.titleการพัฒนานวัตกรรมเครื่องสั่นสะเทือนปอด สำ หรับผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาในการระบายเสมหะen
dc.title.alternativeInnovation Development Vibrate for Drainage Secretion of Pediatric Patientsen
dc.typeArticleen
Appears in Collections:Nursing - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Innovation-Development-Vibrate-for-Drainage-Secretion.pdf90.28 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.