Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2997
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิญญ์ทัญญู บุญทัน-
dc.contributor.authorWinthanyou Bunthan-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingen
dc.date.accessioned2024-10-08T14:31:15Z-
dc.date.available2024-10-08T14:31:15Z-
dc.date.issued2020-
dc.identifier.citationรามาธิบดีพยาบาลสาร 26,2 (พฤษภาคม-กันยายน 2563) : 232-245en
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2997-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่: https://www.rama.mahidol.ac.th/ramanursej/rnj-v26-no2-may-sep-2020-08en
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมความสามารถในการใช้เครื่องมือประเมินสุขภาพผู้สูงอายุตามแนวคิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ต่อความรู้และการรับรู้ทักษะในการใช้เครื่องมือประเมินสุขภาพผู้สูงอายุของนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 จำนวน 48 ราย แบ่งออกเป็นกลุ่มทดลอง 24 รายและกลุ่มควบคุม 24 ราย เครื่องมือวิจัย มีจำนวน 2 ฉบับ ได้แก่ 1) แบบวัดความรู้การใช้เครื่องมือประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ และ 2) แบบประเมินการรับรู้ทักษะการใช้เครื่องมือประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ Wilcoxon signed rank test และ Mann-Whitney U test ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยของลำดับของความรู้และการรับรู้ทักษะในการใช้เครื่องมือประเมินสุขภาพผู้สูงอายุหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และค่าเฉลี่ยของลำดับความรู้และการรับรู้ทักษะในการใช้เครื่องมือประเมินสุขภาพผู้สูงอายุหลังการทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษานี้พบว่า กลุ่มตัวอย่างในกลุ่มทดลองมีความสามารถในการใช้เครื่องมือประเมินสุขภาพผู้สูงอายุทั้งความรู้และการรับรู้ทักษะสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ ดังนั้น ควรมีการนำโปรแกรมฝึกอบรมเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้เครื่องมือประเมินสุขภาพผู้สูงอายุมาใช้กับนักศึกษาก่อนการขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาลen
dc.description.abstractThis quasi-experimental study aimed to examine the effects of a competency-strengthening program to use geriatric health assessment tools on knowledge and perceived skills in using the tools of nursing students. The sample consisted of 48 third-year nursing students by which 24 students were in the experimental group and 24 students were in the control group. Research instruments included : 1) the Knowledge to Use Geriatric Health Assessment Tools Scale, and 2) the Perceived Skills to Use Geriatric Health Assessment Tools Scale. Data were analyzed using descriptive statistics, Wilcoxon signed-rank test, and Mann-Whitney U test. The results showed that the mean rank of knowledge and perceived skills in using geriatric health assessment tools after the experiment were significantly higher than those before the experiment, as well as higher than those in the control group. Therefore, the competency-strengthening program to use geriatric health assessment tools should be applied to nursing students before practicing in nursing practicum.en
dc.language.isothen
dc.subjectนักศึกษาพยาบาลen
dc.subjectNursing studentsen
dc.subjectผู้สูงอายุ – การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพen
dc.subjectOlder people -- Health risk assessmenten
dc.subjectผู้สูงอายุ – สุขภาพและอนามัยen
dc.subjectOlder people -- Health and hygieneen
dc.subjectการรับรู้en
dc.subjectPerceptionen
dc.titleผลของโปรแกรมการส่งเสริมความสามารถในการใช้เครื่องมือประเมินสุขภาพผู้สูงอายุของนักศึกษาพยาบาลen
dc.title.alternativeThe Effect of a Competency-Strengthening Program to Use Geriatric Health Assessment Tools among Nursing Studentsen
dc.typeArticleen
Appears in Collections:Nursing - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
The-Effect-of-a-Competency-Strengthening-Program.pdf85.5 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.