Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3012
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อมรรัตน์ ลือนาม | - |
dc.contributor.author | นิลาวรรณ งามขํา | - |
dc.contributor.author | ดวงหทัย แสงสว่าง | - |
dc.contributor.author | วิภาวรรณ เพ็งพานิช | - |
dc.contributor.author | กมลทิพย์ รัตนสุวรรณาชัย | - |
dc.contributor.author | วชรดล เส็งลา | - |
dc.contributor.author | กิตติ ประจันตเสน | - |
dc.contributor.author | Amornrat Luenam | - |
dc.contributor.author | Nilawan Ngamkham | - |
dc.contributor.author | Duanghathai Sangsawang | - |
dc.contributor.author | Wipawan Pengpanich | - |
dc.contributor.author | Kamonthip Rattanasuwannachai | - |
dc.contributor.author | Wacharadon Sengla | - |
dc.contributor.author | Kitti Prachuntasen | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health | en |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health | en |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health | en |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health | en |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health | en |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health | en |
dc.contributor.other | Loei Provincial Public Health Office | en |
dc.date.accessioned | 2024-10-12T12:57:30Z | - |
dc.date.available | 2024-10-12T12:57:30Z | - |
dc.date.issued | 2019 | - |
dc.identifier.citation | วารสาร มฉก. วิชาการ 23, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2562) : 93-106. | en |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3012 | - |
dc.description | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/146632/138067 | en |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับพฤติกรรมในการดูแลตนเองและความสามารถของปัจจัยในการทํานายพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงของประชาชนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มตัวอย่างคือกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ที่มีผลการตรวจคัดกรองโดยการตรวจวัดความดันโลหิตอยู่ระหว่าง 120/80 – 139/89 mmHg จํานวน 298 คน สุ่มตัวอย่างโดยอาศัยทฤษฎีความน่าจะเป็น ใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบ ชั้นภูมิ เป็นวิจัยเชิงสํารวจแบบภาคตัดขวาง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม จํานวน 298 ชุด โดยเก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนมกราคม – พฤษภาคม พ.ศ.2561 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สําเร็จรูป เพื่อหาจํานวนร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ปัจจัยทํานายพฤติกรรมในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โดยใช้ multiple regression ผลการศึกษา พบว่า พฤติกรรมในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงในภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง (–x±S.D; 3.22 ±0.21, 95%CI; 3.20-2.24) อาชีพรับจ้าง การศึกษาปริญญาตรี สถานภาพสมรสหม้าย การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค การรับรู้อุปสรรค และสิ่งชักนําให้เกิดการปฏิบัติ สามารถเป็นตัวแปรพยากรณ์พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงของประชาชนกลุ่มเสี่ยง ซึ่งมีค่าอํานาจการทํานาย (Adj R2) ร้อยละ 26.82 | en |
dc.description.abstract | The aims of this study were to investigate the prevalence of self-care behavior for prevention of hypertension among population groups of at risk individuals aged over 35 years and its association in the private hospital. This cross-sectional study was conducted during January to May 2018 among 298 participants. A self-administered questionnaire was used to assess factors of self-care behavior for prevention of hypertension. As a predictive analysis, the multiple regression is used to explain the relationship between multiple factors of self-care behavior and prevention of hypertension The result showed that most of the participants (–x±S.D; 3.22 ±0.21, 95%CI; 3.20-2.24), had a fair level of self-care behavior for prevention of hypertension. The results indicated that the employee status, bachelor’s degree attainment, perception of obstacles, received risk of disease, practical induction, and marital status of widow could be predictive factors of self-care behaviour for prevention of hypertension (Adj R2=26.82). | en |
dc.language.iso | th | en |
dc.subject | การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง | en |
dc.subject | Self-care, Health | en |
dc.subject | การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ | en |
dc.subject | Health risk assessment | en |
dc.subject | โรคความดันโลหิตสูง | en |
dc.subject | ความดันเลือดสูง | en |
dc.subject | Hypertension | en |
dc.title | ปัจจัยทํานายพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อป้องกัน โรคความดันโลหิตสูงของประชาชนกลุ่มเสี่ยง | en |
dc.title.alternative | Predictive Factors of Self-Care Behavior for Prevention of Hypertension among Population Group at Risk | en |
dc.type | Article | en |
Appears in Collections: | Public and Environmental Health - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Factors-of-Self-Care-Behavior-for-Prevention-of-Hypertension.pdf | 98.22 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.