Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/301
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยกุล เลาวัณย์ศิริ-
dc.contributor.advisorPiyakul Lawansiri-
dc.contributor.authorสมศักดิ์ วสุวิทิตกุล-
dc.contributor.authorSomsak Wasuwithitkul-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Communication Arts-
dc.date.accessioned2022-05-14T09:33:24Z-
dc.date.available2022-05-14T09:33:24Z-
dc.date.issued2014-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/301-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.) (การสื่อสารสุขภาพ) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2557th
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการเปิดรับสื่อโรคอ้วนของประชาชนที่เป็นโรคอ้วน 2) ศึกษาระดับความรู้เกี่ยวกับโรคอ้วนของผู้ที่เป็นโรคอ้วน และ 3) ศึกษาทัศนคติต่อโรคอ้วนของผู้ที่เป็นโรคอ้วน ใช้วิธีวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยมีกลุ่มตัวอย่างคือ ประชาชนมีค่าดัชนีมวลกาย ≥ 25 กิโลกรัม/เมตร² และมีอายุ 18 ปีขึ้้นไปจำนวน 400 คนในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีความชุกของโรคอ้วนมากที่สุดในประเทศไทย ประมวลผลข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้ได้แก่ การทดสอบค่าเฉลี่ย (t-test) และการทดสอบค่าเฉลี่ย (One-way ANOVA) กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติเท่ากับ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่เป็นโรคอ้วนมีการเปิดรับสื่อเกี่ยวกับโรคอ้วนทางโทรทัศน์มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (x̄=2.01) รองลงมาคือ สื่อไร้พุงในสถานที่ทำงาน (x̄=1.94) และสื่ออินเทอร์เน็ต (x̄=1.89) กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เกี่ยวกับโรคอ้วนในระดับสูง ร้อยละ 40.5 และมีความรู้ในระดับต่ำ ร้อยละ 37.2 สำหรับปัจจัยด้านลักษณะประชากรพบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ที่แตกต่างกันมีการเปิดรับสื่อเกี่ยวกับโรคอ้วนแตกต่างกัน การเปิดรับสื่อโรคอ้วนทางวิทยุพบว่า มีความแตกต่างระหว่างเพศชายและเพศหญิง โดยเพศชายมีการเปิดรับสื่อทางวิทยุมากกว่า (t=2.861, p-value <0.001) ร้อยละ 97.5 ของกลุ่มตัวอย่างมีทัศนคติเชิงบวกต่อโรคอ้วน และเมื่อทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยพบว่า ผู้ที่เปิดรับสื่อเกี่ยวกับโรคอ้วนด้วยความถี่ที่ต่างกัน มีทัศนคติต่อโรคอ้วนไม่แตกต่างกัน และผู้ที่เปิดรับสื่อเกี่ยวกับโรคอ้วนด้วยความถี่ที่แตกต่างกันมีระดับความรู้เกี่ยวกับโรคอ้วนแตกต่างกัน โดยที่การเปิดรับสื่อเกี่ยวกับโรคอ้วนทางอินเทอร์เน็ตที่เพิ่มขึ้นมีแนวโน้มที่จะมีความรู้เกี่ยวกับโรคอ้วนเพิ่มขึ้น (F=116.9, p-value<0.001) ดังนั้นควรวางแผนสื่อสารเพื่อปรับลดทัศนคติเชิงบวกต่อโรคอ้วนของผู้ที่เป็นโรคอ้วนและการให้ความรู้เรื่องโรคอ้วนผ่านทางสื่ออินเทอร์เน็ตจะเป็นช่องทางสื่อสารที่มีประสิทธิภาพth
dc.description.abstractThe research aimes to study 1) the media exposure of obesity in the obese adult, 2) the knowledge of obesity in the obese adults, 3) the attitude on obesity disease in obese adults. This research project was a survey research relied on a self-administered questionnaire. The participants were 400 obese aged over 18 years old based in Metropolitan Bangkok where presented the most prevalence of obese in Thailand. Statistical analysis were t-test and Analysis of Variances: One-Way ANOVA, by setting valid correlation at 0.05. The research's results indicated that the most obese adults preceived information about obesity via Television (x̄=2.01), workplace (x̄=1.94) and internet (x̄=1.89), 40% of obese showed they are familiar with obesity and 37.2% of obese showed they knew little about obesity. The study showed that sex, age, education and occupation related to levels of perceiving to information of obesity. Males showed they received knowledge about obesity vis radio more than females (t=2.861, p-value<0.001). The results indicated that 95.5% of obese adults has good attiture on obesity. A comparison of Means indicated that they did not show a statistically significant relationaship between exposure information channel of obesity and obesity's attitude among abese adults. The difference of exposure to obesity information had difference knowledge of obesity. Frequency of exposure to obesity-information via internet had a positibe trend with knowledge of obesity (F=116.9, p-value<0.001). The study recommended that the efficiency communication route for pproviding information about obesity was internet channel and communication planning for reducing wrong attiture on obesity is necessary intervention.th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectการเปิดรับสื่อมวลชนth
dc.subjectโรคอ้วนth
dc.subjectObesityth
dc.subjectการสื่อสารความเสี่ยงด้านสุขภาพth
dc.subjectHealth risk communicationth
dc.titleการเปิดรับสื่อความรู้และทัศนคติของผู้ที่เป็นโรคอ้วนต่อโรคอ้วนในเขตกรุงเทพมหานครth
dc.title.alternativeMedia Exposure to Knowledge and Attitude of Obesity towards Obese Adults in Bangkok Metroprolitanth
dc.typeThesisth
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineการสื่อสารสุขภาพth
Appears in Collections:ommunication Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SOMSAK-WASUWITHITKUL.pdf3.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.