Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/303
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกนกพร นทีธนสมบัติ-
dc.contributor.advisorกมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม-
dc.contributor.advisorKanokporn Nateetanasombat-
dc.contributor.advisorKamonthip Khungtumneum-
dc.contributor.authorเนาวรัตน์ กระมูลโรจน์-
dc.contributor.authorNaowarut Kramolroj-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing-
dc.date.accessioned2022-05-15T04:16:17Z-
dc.date.available2022-05-15T04:16:17Z-
dc.date.issued2017-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/303-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.) (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2560th
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายการปฏิบัติพยาบาลแบบครอบครัวเป็นศูนย์กลางของพยาบาลปฏิบัติเวชชุมชน กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน และได้รับใบอนุญาตขึ้นทะเบียนจากสภาการพยาบาล จำนวน 185 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามที่ประกอบด้วย 4 ส่วน ส่วนที่ 1 ลักษณะส่วนบุคคล อาทิเช่น เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน ส่วนที่ 2 เป็นแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ส่วนที่ 3 เป็นการรับรู้บทบาทสมรรถนะของพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน และส่วนที่ 4 เป็นการปฏิบัติพยาบาลแบบครอบครัวเป็นศูนย์กลางของพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน และหาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบัคทั้งฉบับ เท่ากับ 0.967 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหเพียร์สัน และวิเคราะห์ปัจจัยทำนายด้วยการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างอายุระหว่าง 31-40 ปี ร้อยละ 60.50 จบปริญญาโท คิดเป็นร้อยละ 93.00 มีประสบการณ์การทำงานพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนน้อยกว่า 10 ปีขึ้นไป ร้อยละ 89.20 ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลประจำอำเภอ คิดเป็นร้อยละ 66.50 กลุ่มตัวอย่างมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̄=4.12, S.D.=0.26) และมีการรับรู้บทบาทตามสมรรถนะของพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̄=4.08, S.D.=0.29) เช่นกัน ส่วนการวิเคราะห์ปัจจัยทำนายการปฏิบัติพยาบาลแบบครอบครัวเป็นศูนย์กลางของพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน โดยพบว่า การรับรูู้บทบาทตามสมรรถนะพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน ด้านความสามารถในการพัฒนาจัดการและกำกับระบบการดูแลบุคคล กลุ่มคน ครอบครัวและชุมชน การสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรค การรักษาโรคเบื้องต้นน และการฟื้นฟูสภาพโรค ด้านความสามารถในการประสานงาน ด้านความสามารถในการเสริมสร้างพลังอำนาจ การสอนการฝึกการเป็นพี่เลี้ยงในการปฏิบัติ และด้านความสามารถในการจัดการและประเมินผลลัพธ์ สามารถทำนายการปฏิบัติพยาบาลแบบครอบครัวเป็นศูนย์กลางได้ (r=0.521, p<0.01) เท่ากับร้อยละ 20.2 ข้อเสนอแนะจากการศึกษาครั้งนี้ ผู้บริหารทางการพยาบาลหรือหัวหน้างานอาจนำปัจจัยทำนายการปฏิบัติพยาบาบแบบครอบครัวเป็นศูนย์กลางของพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนที่พบไปวางแผนพัฒนาและปรับปรุงผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานของตนเพื่อส่งเสริมให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานของตนเองได้อย่างเหมาะสมth
dc.description.abstractThis research aimed to study factor predicting on family centered nursing care of nurse practitioner. The samples were 185 registered nurses, who graduated master of nursing science in community nurse practitioner and registered from Thai nursing council. Data collection used the questionnaire, which consisted of four parts. The first part was a demographuc data such as sex, age, level of education, and working experience, whereas the second part was a work motivation. The third part was a perception on role and competency of nurse practitioner. Finally, The family centered nursing care of nurse practitioner was conducted as the four part. The questionnaire was validated by three experts, whereas the reliability had 0.967% of the Cronbah's alpha score. The data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, Pearson's production moment correlation coefficient, and Multiple Regression. The result found that approximately sixty percent of the samples were 21 to 40 years old. Ninety-three percent graduated master of nursing science. Their nursing experience in community were less than ten years, which was about 89.2 percent. About sixty-six percent samples worked at the community hospital. The overall work motivation was in the high level (x̄=4.12, D.S.=0.26) and the overall of perception on role and competency of nurse practitioner was in the high level as well (x̄=4.08, S.D.=0.29). For the analysis of factor predicting on familtu centered nursing care of nurse practitioners, it revealed that perception on role and competency of nurse practitioner, which particularly on aspect of care management, are person group family and community, health promotion health prevention, basic medical care, and rehabilitation, aspect of collaboration, aspect of empowering, educating, coaching, mentoring, and aspect of outcome management and evaluation, could predict on family centered nursing care of nurse practitioners at 20.2 percent (r=0.521, p<0.01). For suggestion of this study, nurse administrators or head nurses might apply the predicting factors on family centered nursing care of nurse practitioners to plan for developing and improving nursing practice at their workplace in order to promote nurse practitioners' ability appropriately.th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectการพยาบาลครอบครัวth
dc.subjectFamily nursingth
dc.subjectพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนth
dc.subjectNurse practitionersth
dc.subjectสมรรถนะth
dc.subjectPerformanceth
dc.titleปัจจัยทำนายการปฏิบัติพยาบาลแบบครอบครัวเป็นศูนย์กลางของพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนth
dc.title.alternativeFactors Predicting of Nursing Practice in Family-Centered Care of Community Nurse Practitionersth
dc.typeThesisth
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนth
Appears in Collections:Nursing - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NAOWARUTKRAMOLROJ.pdf1.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.