Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3053
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorทิพวรรณ สุวรรณพล-
dc.contributor.authorปิยรัตน์ สมันตรัฐ-
dc.contributor.authorจินตนา สะตะ-
dc.contributor.authorเพ็ญพักตร์ คงกุลทอง-
dc.contributor.authorTipphawan Suwanpol-
dc.contributor.authorPiyarat Samantarath-
dc.contributor.authorJintana Sata-
dc.contributor.authorPenpak Kongkulthong-
dc.contributor.otherQueen Sirikit National Institute of Child Healthen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingen
dc.contributor.otherQueen Sirikit National Institute of Child Healthen
dc.contributor.otherQueen Sirikit National Institute of Child Healthen
dc.date.accessioned2024-10-18T02:23:33Z-
dc.date.available2024-10-18T02:23:33Z-
dc.date.issued2020-
dc.identifier.citationวารสารกรมการแพทย์ 45,4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2563) : 129-137en
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3053-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : https://he02.tci-thaijo.org/index.php/JDMS/article/view/249796/169728en
dc.description.abstractภูมิหลัง: การใส่สายสวนหลอดเลือดดำเป็นหัตถการที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อในโรงพยาบาลที่พบได้บ่อยที่สุด และทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาทั้งระยะสั้นและระยะยาวโดยเฉพาะในทารกซึ่งภูมิคุ้มกันยังไม่สมบูรณ์ การนำเอาแนวทางปฏิบัติในการป้องกันการติดเชื้อและปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติฯอย่างเคร่งครัดจึงเป็นมาตรฐานสำคัญในการป้องกันการติดเชื้อ วัตถุประสงค์:เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลองชนิดหนึ่งกลุ่มทดสอบก่อนและหลัง มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบคะแนนความรู้และการปฏิบัติของพยาบาลก่อนและหลังการใช้แนวทางปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อในกระแสโลหิตที่สัมพันธ์กับการใส่สายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลางวิธีการ: กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ พยาบาลวิชาชีพประจำหอผู้ป่วยศัลยกรรมทารกแรกเกิด สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี จำนวน 11 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แนวทางปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อในกระแสโลหิตที่สัมพันธ์กับการใส่สายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลางสำหรับผู้ป่วยศัลยกรรมทารกแรกเกิด 2) แบบทดสอบความรู้ในการป้องกันการติดเชื้อจากการใส่สายสวนหลอดเลือดดำ 3) แบบสังเกตการปฏิบัติของพยาบาลในการป้องกันการติดเชื้อในกระแสโลหิตที่สัมพันธ์กับการใส่สายสวนหลอดเลือดส่วนกลาง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้กลุ่มทดลอง 11 คน ก่อนและหลังใช้แนวทางปฏิบัติโดยผู้วิจัยเป็นผู้สังเกตและบันทึกในแบบสังเกต วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Wilcoxon signed-rank test เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความรู้และการปฏิบัติที่ถูกต้อง ก่อนและหลังการใช้แนวทางปฏิบัติ ผล: 1) คะแนนเฉลี่ยความรู้ในการป้องกันการติดเชื้อในกระแสโลหิตที่สัมพันธ์กับการใส่สายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลางสูงกว่าก่อนการใช้แนวทางปฏิบัติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 2) เปรียบเทียบการปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยใส่สายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลางหลังการใช้แนวทางปฏิบัติดีกว่าก่อนใช้ในทุกกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สรุป: การนำแนวทางการปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยใส่สายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลางมาใช้ช่วยเพิ่มความรู้ความเข้าใจและส่งเสริมการปฏิบัติที่ถูกต้องแก่พยาบาลen
dc.description.abstractBackground: Central venous catheterization is the most common cause of nosocomial infection and associated with short and long term adverse events especially with neonates who have immature immune. Strict implementation of clinical practice guideline for prevention of central venous catheter-related blood stream infections is the gold standard to prevent CRBSI. Objectives: the purposes of this study were to compare nurses’ knowledge and practices before and after implementing the clinical practice guideline for prevention of CRBSI at neonatal surgical unit. Methods: Sample was 11 registered nurses of neonatal surgical unit at Queen Sirikit National Institute of Child Health. Instrument used in this study were 1) clinical nursing practice guideline for the prevention of central-line associated blood stream infection 2) knowledge related to prevention of CRBSI questionnaire and 3) observational form. 11 nurses were recruited as experimental group before and after initiating implementation of the clinical practice guideline for prevention of CRBSI. The data were collected by the researcher and were analyzed using Wilcoxon signed-rank test to compare scores on knowledge and practice before and after implementation the guideline for prevention of CRBSI. Results: 1) After implementation the guideline, means of knowledge scores were significantly higher than before implementation the guideline 2) After implementation the guideline, practice for prevention of CRBSI were significantly higher than before implementation the guideline. Conclusion: To initiate the clinical practice guideline for prevention of CRBSI enhances nurses’ knowledge and understanding, then promote standard practices.en
dc.language.isothen
dc.subjectทารก – ศัลยกรรมen
dc.subjectInfants – Surgeryen
dc.subjectการใช้หลอดสวนหลอดเลือดดำen
dc.subjectVeins catheterizationen
dc.subjectหลอดสวนen
dc.subjectCathetersen
dc.subjectการใช้หลอดสวน – ภาวะแทรกซ้อนen
dc.subjectCatheterization – Complicationsen
dc.subjectการเจาะหลอดเลือดดำen
dc.subjectVeins – Punctureen
dc.subjectการติดเชื้อen
dc.subjectInfectionen
dc.subjectการติดเชื้อในทารกแรกเกิดen
dc.subjectNeonatal infectionsen
dc.titleการประเมินผลความรู้และการปฏิบัติของพยาบาลก่อนและหลังการใช้แนวทางปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อในกระแสโลหิตที่สัมพันธ์กับการใส่สายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลางในผู้ป่วยศัลยกรรมทารกแรกเกิดen
dc.title.alternativeEvaluation of Knowledge and Practice of Nurses Before and After Implementation of Clinical Practice Guideline for Prevention of Central Venous Catheter-Related Blood Stream Infections (CRBSI) in Neonatal Surgical Patientsen
dc.typeArticleen
Appears in Collections:Nursing - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Evaluation-of-Knowledge-and-Practice-of-Nurses.pdf97.87 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.